วันอังคารที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการไฟล์

1. ls : ใช้แสดงรายชื่อแฟ้มทั้งหมดใน home direct
2. cd : เป็นคำสั่งที่ใช้เปลี่ยนไปยังไดเรคทอรีย่อยของเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทาง ที่ต้องการ
3. file :
4. pwd : แสดง directory ที่เราอยู่ปัจจุบัน
5. Mv : ใช้ในการย้ายที่อยู่ (Move) หรือเปลี่ยนชื่อ (Rename) ไฟล์หรือ ไดเรคเทอรี. รูปแบบการใช้งาน
6. MKdir : คำสั่งนี้เป็นคำสั่งในการสร้าง directory ขึ้นมา
7. Rm : เป็นคำสั่งที่ใช้ลบข้อมูล file ข้อมูล เกิดได้หลายกรณี เช่น เกิดจากการ ftp ขึ้นมาวางไว้
8. Rmdir : เป็นคำสั่งสำหรับการลบไดเร็คทอรี่ รูปแบบ: rmdir directory_name คือ ชื่อไดเร็คทอรี่ที่ต้องการลบ
9. Chown : ใช้สำหรับเปลี่ยนเจ้าของแฟ้มข้อมูลหรือ Directory. โครงสร้างคำสั่ง. chown [ option]... owner[:group] file หรือ. chown [option]... :group file
10. Cgrp : ใช้สำหรับเปลี่ยนกลุ่มเจ้าของแฟ้มข้อมูลหรือ Directory โครงสร้างคำสั่ง

คำสั่งเกี่ยวกับการจัดโปรเซส

1. Ps : แสดง Process หรือโปรแกรมที่ประมวลผลอยู่ในระบบขณะนั้น. ช่วยให้ผู้ดูแล ระบบ ติดตามได้ว่ามีโปรแกรมอะไรที่ไม่ถูกต้อง run อยู่ หรือโปรแกรมอะไร
2. Kill : ช่วยยกเลิก process ที่ไม่ถูกต้องออกจากระบบ ถ้าขณะนั้นผู้ใช้คนหนึ่งกำลังใช้งานอยู่ หาก process หลักของเขาถูก kill จะทำให้ผู้ใช้ท่านนั้น หลุดออกจากระบบทันที (สำหรับคำสั่งนี้จะถูกใช้โดย super user เท่านั้น ผู้ใช้ธรรมดาไม่มีสิทธิ)
3. Fg :เป็นทางที่สามในการส่ง Signals ให้แก่ process โดยการใช้ kill system call ซึ่งเป็นวิธีในการส่ง signal จาก 1 process ไปยังที่อื่น ๆ โดยสามารถใช้ได้ทั้ง “kill command” หรือ “fg command” ก็ได้ โดยต้องมีการ include signal.h ด้วย จึงจะสามารถใช้ฟังก์ชันต่าง ๆ ได้เช่น kill เป็นต้น ซึ่ง process จะหยุดการทำงานของตัวเองโดย การส่ง PID ตัวเองไปให้ฟังก์ชัน ใน signal.h จัดการ ดังตัวอย่างการเรียกใช้ฟังก์ชัน kill ในโปรแกรม
4. Bg :
5. Jobs : (เป็นคำสั่งสำหรับกำหนดควบคุม การรับส่งผ่าน ข้อมูลของ Firewall)

คำสั่งสำรองข้อมูล

1. Tar : เป็นคำสั่งพื้นฐานมากๆ บนระบบ Linux หรือ Unix ... หลังจากได้ tar มาแล้ว
2. Gzip : ใช้ zip หรือ Unzip ไฟล์ packet โดยมากแล้วจะเป็น .tar เช่น$ gzip filename.tar ผลที่ได้จะได้ไฟล์ซึ่งมีการ zip แล้วชื่อ filename.tar.gz$ gzip -d filename.tar.gz ใช้ unzip ไฟล์ผลที่ได้จะเป็น filename.tar
3. Gunzip : เป็นคำสั่งสำหรับขยายไฟล์ที่ถูกบีบอัดให้มีขนาดเท่าเดิม รูปแบบ: gunzip

คำสั่งเกี่ยวกับการติดต่อสือสาร

1. telnet : ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ แต่ ปัจจุบัน server ต่าง ๆ ปิดบริการ telnet แต่เปิด SSH แทน
2. ftp : ftp เป็นคำสั่งที่ใช้ถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่ง โดยการติดต่อกับ host ที่เป็น ftp นั้นจะต้องมี user name และมี password ที่สร้างขึ้นไว้แล้ว แต่ก็มี ftp host ที่เป็น public อยู่ไม่น้อยเช่นกัน ดังนั้นจะมี user name ที่เป็น publicเช่นกัน คือ user ที่ชื่อว่า anonymous ส่วน password ของ user anonymous นี้จะใช้เป็น E-mail ของผู้ที่จะ connect เข้าไปและโปรแกรมส่วนใหญ่ก็จะอยู่ใน directory ชื่อ pub
3. lynx : เป็นโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ซึ่งทำงานด้วยข้อความล้วน ๆ ไม่สามารถแสดง รูปภาพได้ เริ่มต้นใช้งานด้วยการล้อกอินเข้าระบบด้วยยูสเซอร์
4. mesg : mesg จะใช้เพื่อควบคุมว่าผู้อื่นมีสิทธิที่จะส่งข้อความ write ถึงเราหรือไม่. โครงสร้างคำสั่ง
5. ping : Ping เป็นคำสั่งพื้นฐานในการตรวจสอบการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องส่งและ เครื่องรับ โดยจะส่งข้อมูลหรือแพ็คเกจขนาด 32K
6. write : จะเป็นการแสดงค่าของตัวแปรหรือข้อมูลออกทางจอภาพ เครื่องพิมพ์ หรือ นำไปเก็บไว้ที่แฟ้มข้อมูล เมื่อแสดงค่าด้วยคำสั่ง Write แล้วจะไม่ขึ้นบรรทัดใหม่ สิ่งที่จะแสดงต่อไปจะแสดงต่อจากสิ่งที่แสดงก่อนหน้านี้

คำสั่งอื่นๆ

1.At : นั้นมีไว้สำหรับสั่งการให้โมเด็มซ้ำสตริงคำสั่งสุดท้าย โมเด็มจะ ปฏิบัติตามคำสั่งทันทีที่พิมพ์เครื่องหมาย/ ไม่จำเป็นต้องป้อนคำเติมหน้าคำสั่ง
2.Cpio : ต้องการชื่อเต็ม (full pathname) ดังนั้นถ้าผู้ใช้ทำการอ้างชื่อ ไดเรกทอรีปลายทางแบบ relative
3.Bc : เป็นโปรแกรมเครื่องคิดเลขแบบบรรทัดคำสั่ง. สร้างฟังก์ชัน, คำนวณ คณิตศาสตร์ชั้นสูงเช่นยกกำลัง
4.Basename : เป็นคำสั่งสำหรับสกัดเอาชื่อไฟล์ไฟล์โดยตัดส่วนขยายชื่อไฟล์ (file extension) .gif ออก
5.Last : เป็นคำสั่งที่จะทำให้ loop หยุดทำงานและออกมาจาก loop ทันที

6.Crontab : มีไว้เพื่อการตั้งเวลาทำงานคำสั่งหรือโปรแกรมล่วงหน้า ตามเวลาที่ ผู้ใช้ต้องการ แต่การเปิดอนุญาติเช่นนี้อาจสร้างปัญหาให้แก่ระบบ
7.Dd : ใช้สำหรับจัดย่อหน้าสำหรับคำอธิบาย
8.Du : แสดงการเนื้อที่ใช้งาน ของแต่ละ directory โดยละเอียด. ช่วยให้ผู้ดูแล ระบบรู้ว่า directory ใด ใช้เนื้อที่ใด หรือใช้ดูรวม ๆ
9.Dirname : คือเปลี่ยนทั้งเจ้าของไฟล์และกลุ่มไปพร้อมกันทุกไฟล์ใน Sub dirname
10.Ln : เป็นคำสั่งไว้สร้าง link ไปยังที่ ที่ต้องการ คลายกับ shortcut ใน
11.Env : แสดงค่า environment ปัจจุบัน
12.Eject : คำสั่ง EJECT เป็นคำสั่งให้นำคำสั่งที่ตามหลังคำสั่ง EJECT ไปขึ้นหน้าใหม่ ทั้งนี้เพื่อให้แต่ละส่วนของโปรแกรมใหญ่ๆ ขึ้นหน้าใหม่ ส่วนคำสั่ง EJECT จะไม่ปรากฏใน Assembly Listing
13.Exec : ที่ใช้ในการแทนค่าตัวแปรแล้วรันคำสั่งแบบพลวัต (dynamicly) บันทึกพฤติกรรมของ exec ไว้
14.Free : แสดงหน่วยความจำที่เหลืออยู่บนระบบ โครงสร้างคำสั่ง free [-b-k-m] โดย option ที่มักใช้กันใน free คือ -b แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย byte
15.Groups :
16.Hostname : คำสั่งแสดงชื่อผู้ใช้ขณะใช้งาน $ logname คำสั่ง id ใช้แสดงชื่อและกลุ่มมของผู้ใช้ งาน $ id คำสั่ง tty แสดงหมายเลข terminal ที่ใช้งานอยู่
17.Lp :
18.Mount : เป็นคำสั่งเชื่อมต่ออุปกรณ์เข้ากับระบบ) รู บแบบการใช้งาน mount
19.Mt : คำสั่งกำหนดและแก้ไขรหัสผ่านของ User ของระบบ Unix,Linux ... คำสั่งกำหนดคำสั่งย่อ ของระบบ Unix,Linux
20.Nice : คำสั่งหรือโปรอกรมเข้าสู่เครื่อง .... ติดต่อ nice หรือ ติดต่อผู้บริหารเว็บไซต์ + Powered by KnowledgeVolution
21.Nohup :
22.Netstat : จะแสดงเป็นตัวเลข IP ยากต่อการเดา และการดูจริงๆคุณต้องสังเกตที่ port ที่เครื่องคุณด้วยว่าเป็น port ที่ใช้ทำอะไร
23.Od : แสดงเนื้อหาในไฟล์ไบนารี่
24.Pr : คือส่วนหนึ่งของภาษา HTML. คุณสามารถใช้ BBCode ในข้อความที่คุณพิมพ์. และคุณสามารถยกเลิกการใช้ BBCode ในแต่ละข้อความได้ในแบบฟอร์มกรอกข้อความ. BBCode มีรูปแบบคล้ายๆกับภาษา HTML
25.Df : แสดงเนื้อที่ใช้งานทั้งหมดของ Harddisk ว่าเหลือเท่าใด
26Printf : รับค่าตัวแรกเป็นข้อความที่จัดรูปแบบการแสดงผล และรับรายการของข้อมูลที่ต้องการแสดงผลถัดไป. รูปแบบการแสดงผลจะถูกระบุโดยเครื่องหมาย % ตามด้วยอักษรแสดงรูปแบบ. ในกรณีนี้ %d ระบุว่าเราจะพิมพ์ตัวเลขฐานสิบ
27.Df : (ซ้ำกัน)
28.Printenv : คำสั่งนี้จะแสดงค่าตัวแปลสภาพ แวดล้อม. ตัวอย่าง:. -เซ็ตค่าตัวแปรสภาพแวดล้อม. จะใช้คำสั่ง ‘setenv’
29.Pg : เป็นคำสั่งใช้แสดง content ของไฟล์ ทั้งหมดทีละจอภาพ ถ้าต้องการแสดงหน้า ถัดไป ต้องกด แป้น.enter; รูปแบบ. pg filename
30.Quota :
31.rlogin : ใช้เพื่อเปิดการเชื่อมต่อ ด้วย rlogin. rsh. ใช้เพื่อ execute คำสั่งแบบ Remote (การใช้คำสั่งทำงานบน Host อื่นแบบ Remote)

วันจันทร์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

วิธีใช้โปรแกรม Adobe Captivate

1. เมื่อเปิดโปรแกรม Adobe Captivate ขึ้นมา เราจะพบหน้า Start Pageให้เราคลิกเลือกที่ Record or create a new project เพื่อเริ่มต้นสร้างมูฟวี่ใหม่
2. เลือกรูปแบบของมูฟวี่ที่เราต้องการบันทึก โดยมีรายละเอียดดังนี้
• Application: เป็นการเลือกการบันทึก Application ใด Application หนึ่ง ที่กำลังทำงานอยู่
• Custom size: เป็นการเลือกบันทึกการทำงานในพื้นที่ที่เรากำหนดขนาด เราสามารถกำหนดขนาดของพื้นที่ที่เราต้องการบันทึกได้เอง
• Full screen: เป็นการบันทึกการทำงานทั้งหมดของหน้าจอคอมพิวเตอร์ ไม่ว่ามีการเคลื่อนไหวใดๆ บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ จะถูกบันทึกเก็บไว้หมด
3. ในขั้นตอนนี้ให้เราเลือกบันทึกแบบ Application เพื่อเป็นการทดสอบการบันทึก เมื่อเราคลิกเลือกได้แล้ว คลิกที่ปุ่ม OK
4. ให้คลิก ที่ช่อง Select the window you’d like to recordเพื่อเลือก Application ที่เราต้องการบันทึก
5. เมื่อเลือกได้แล้วให้เราคลิกที่ Snap red recording area to fit selected windowเพื่อจับให้ Application ที่เราเลือกนั้นอยู่ในกรอบของสีแดงที่ใช้บันทึกภาพจากนั้นให้คลิกปุ่มreccord เพื่อทำการบันทึกภาพ
6. เมื่อเราได้ทำการกดปุ่ม reccord แล้ว ในขณะนี้ เราทำอะไรกับ Application ที่เราเลือก ทางโปรแกรม Adobe Captivate จะทำการบันทึกทุกอย่างที่มีการเคลื่อนไหว โดยการบันทึกแต่ละครั้ง เราจะได้ยินเสียงคล้ายกับเสียงของการกดชัตเตอร์ของกล้องถ่ายรูปเมื่อเราทำการสาธิต สิ่งต่างๆ ไปจนเป็นที่พอใจของเราแล้ว และเราจะหยุดทำการบันทึกหน้าจอภาพ ให้เรากดปุ่ม END ที่คีย์บอร์ด เราจะพบกับหน้าต่างยืนยันการหยุดบันทึก
7. ถ้าเราต้องการหยุดบันทึก ให้คลิกที่ปุ่ม OKเพียงเท่านี้ เราก็สามารถบันทึกการทำงานของ Application ที่เราต้องการบันทึก เพื่อทำการสาธิตการใช้งาน Application นั้นๆ ให้กับบุคคลอื่นๆ ได้แล้ว

วิธีใช้โปรแกรม VMware

- เมื่อเปิดใช้ครั้งแรกจะมี Wizard ขึ้นมาทำทางให้ครับ คลิก Nextเลือก Create a virtual machine แล้ว Next
- ตั้งชื่อให้ Virtual PC ที่สร้างขึ้นครับ เช่น Windows XP Pro เสร็จแล้ว Next
- เลือก Guest ครับว่าจะจำลองการติดตั้ง Windows ตัวไหน ได้แล้ว Next
- ปรับแต่ง Ram ให้เหมาะกับ Windows ที่ติดตั้งได้ครับ โดยปรกติมันจะเลือกที่ Using Reccomend RAM ครับ(แนะนำให้ใช้ค่านี้) แล้ว Next
- เลือก A new virtual hard disk ไม่ต้องบอกก็น่าจะเอาออกนะครับ Next
- เลือกตำแหน่งที่จะทำ Virtual Hard Disk ครับว่าจะเอาไปไว้ที่ไหน พร้อมกับกำหนดขนาดของ HDD ที่สามารถนำมาใช้ได้ ต่อด้วย Next
- หน้านี้ไม่ต้องตกใจแล้วนะครับเพราะไม่มีคำว่า Next ให้เลือก เลือก Finish เป็นอันเสร็จการตั้งค่าพื้นฐานครับ
- และนี่คือหน้าหลัก(แรก)ของโปรแกรม คุณจะเห็นว่ามี Virtual ที่เราสร้างขึ้นมาปรากฏอยู่ ให้คลิก Settings ก่อนครับ
- ที่ Settings คุณจะสามารถตั้งค่าต่างๆของการจำลอง Hardware ให้กับ Virtual PC ได้ครับ คุณสามารถปรับแต่งเพิ่มเติมได้ตามใจชอบครับ จะเอาไม่เอาอะไรบ้าง
- ถ้าไม่รู้ว่าจะปรับแต่งอะไรก็ออกมาได้เลยครับ ที่หน้าจอหลักให้คลิกที่ Start เพื่อเริ่มการทำงานของ Virtual กันได้เลย
- เมื่อคลิก Start นี่คือหน้าจอหลักที่สองของโปรแกรม เหมือนกับ PC จริงๆครับมี Bios และสามารถเข้าไปปรับแต่งได้ แต่เปิดใช้ครั้งแรกไม่ต้องปรับนะครับ มันจะบูตที่ CD-ROM โดยอัตโนมัติสิ่งที่ต้องทำคือใส่แผ่นติดตั้ง Windows ลงไปใน Drive CD/DVD ก็พอ
- ถ้าคุณมี ISO Image ของไฟล์ติดตั้ง Windows ก็เลือก CD
-> Cupture ISO Image แล้วเลือกไปยัง Image นั้น จากนั้นไปที่ Action
-> Reset เพื่อใช้การตั้งค่านี้- เมื่อทุกอย่างเข้าที่เข้าทางอย่างที่ควรจะเป็น มันก็จะกลายเป็น PC ไปอีกเรื่องแล้วครับ แต่ต่างกันนิดหน่อยคือมันเกิดจากการจำลอง ถึงตอนนี้ก็ทำตามขั้นตอนการติดตั้ง Windows แบบปรกติได้แล้ว
- ไม่มีอะไรต่างกันเหมือนกับการติดตั้งบน PC จริงๆทุกขั้นตอน
- คุณสามารถหยุดการทำงาน Virtual เวลาใหนก็ได้ตามต้องการเพียงไปที่ Action
-> Close แล้วเลือก Save State
- การทำงานทุกอย่างจะถูกหยุดไว้เมื่อเปิดการทำงานอีกครั้งก็จะกลับเข้าสู่สถานะเดิมClose
- ปิด Virtual ไปเฉยๆนี่แหละครับสุดท้ายก่อนปิดคอร์สครับเมื่อคุณติดตั้งเสร็จแล้วเมื่อเข้า Windows ครั้งแรกก็เหมือนกับ PC จริงๆครับคือต้องลง Driver ก่อน แต่ของ Virtual จะมีของมันมาเองครับ เพียงไปที่ Action
-> Install or Update Virtual Machine AdditionsDriver ก็จะถูกติดตั้งลงไปใน Virtual แล้วล่ะครับ

วันพฤหัสบดีที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

MV ware

MV ware
VMWareโปรแกรม VMWare เป็นโปรแกรมที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อสร้างคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) ขึ้นบนระบบปฏิบัติการเดิมที่มีอยู่ ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ลงระบบปฏิบัติการ Windows XP อยู่เดิม แล้วทำการลงระบบปฏิบัติการ Windows NT ผ่านโปรแกรม VMWare อีกทีหนึ่ง ซึ่งเมื่อลงแล้ว ทั้งสองระบบสามารถทำงานพร้อมกันได้โดยแยกจากกันค่อนข้างเด็ดขาด (เสมือนเป็นคนละเครื่อง) โดยคอมพิวเตอร์เสมือนที่สร้างขึ้นมานั้น จะมีสภาพแวดล้อมเหมือนกับคอมพิวเตอร์จริงๆ เครื่องหนึ่ง ซึ่งจะประกอบด้วย พื้นที่ดิสก์ที่ใช้ร่วมกับพื้นที่ดิสก์ของเครื่องนั้นๆ การ์ดแสดงผล การ์ดเน็ตเวิร์ก พื้นที่หน่วยความจำซึ่งจะแบ่งการทำงานมาจากหน่วยความจำของเครื่องนั้นๆ เช่นกัน ปัจจุบันโปรแกรม VMWare มีเวอร์ชันทั้งสำหรับการทำงานบน Windows และ Linux หากเครื่องท่านเป็น Windows ก็สามารถลองเวอร์ชันสำหรับ Windows ได้ โดยท่านสามารถเข้าไปโหลดโปรแกรมมาทดลองใช้งานได้ที่ http://www.softpedia.com/get/System/OS-Enhancements/VMware-Workstation.shtmlแหล่งที่มาhttp://www.rmutclub.com/forums/index.php?topic=81.2