วันอาทิตย์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ข้อสอบเราเตอร์ (ปรนัย20ข้อ)

1.เราเตอร์ (Router)คือข้อใด
ก.เราเตอร์จะรับข้อมูลเป็นแพ็กเก็ตเข้ามาตรวจสอบแอดเดรสปลายทาง
จากนั้นนำมาเปรียบเทียบกับตารางเส้นทางที่ได้รับการโปรแกรมไว้
ข.อุปกรณ์สวิตช์มีหลายแบบ หากแบ่งกลุ่มข้อมูลเป็นแพ็กเก็ตเล็ก ๆ และเรียกใหม่ว่า "เซล" (Cell)
ค.เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายของเครือข่ายที่แยกจากกัน

2.เราเตอร์ (Router) มีประโยชน์อย่างไร
ก.สามารถนำข้อมูลอื่นมาประกอบภายในได้ก็เรียกว่า "เฟรมรีเลย์" (Frame Relay)
ข.เพื่อหาเส้นทางที่ส่งต่อ หากเส้นทาง ที่ส่งมาจากอีเทอร์เน็ต และส่งต่อออกช่องทางของ Port WAN ที่เป็นแบบจุดไปจุด
ค.อุปกรณ์เชื่อมโยง ทั้งหมดนี้รองรับมาตรฐานการเชื่อมต่อได้หลากหลายรูปแบบ เช่น จากเครือข่ายพื้นฐานเป็นอีเทอร์เน็ต
ง.มีแนวโน้มที่จะพัฒนาให้ใช้กับความเร็วของการรับส่งข้อมูลจำนวนมาก

3.อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่คัดแยกแพ็กเก็ต หรือเรียอีกอย่างว่าอะไร
ก.เอทีเอ็มสวิตช์(ATM Switch)
ข.เซลสวิตช์" (Cell Switch)
ค.เฟรมรีเลย์" (Frame Relay)
ง.สวิตช์แพ็กเก็ต ข้อมูล(Data Switched Packet)

4.เราเทอร์ทำงานบนเลเยอร์ที่เท่าไร
ก. เลเยอร์ที่1 ตามมาตรฐานของ OSI Model
ข. เลเยอร์ที่2 ตามมาตรฐานของ OSI Model
ค. เลเยอร์ที่3 ตามมาตรฐานของ OSI Model
ง. เลเยอร์ที่4 ตามมาตรฐานของ OSI Model

5.ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมโยงเครือข่าย
ก.บริดจ์ (Bridge)
ข. เราเตอร์ (Router)
ค.สวิตช์ (Switch)
ง.แลนด์ (Lan)

6.ข้อใดคืออุปกรณ์ที่ทำหน้าที่คัดแยกแพ็กเก็ต
ก.บริดจ์ (Bridge)
ข. เราเตอร์ (Router)
ค.สวิตช์แพ็กเก็ต ข้อมูล (Data Switched Packet)
ง.สวิตช์ (Switch)

7.ในอินเทอร์เน็ตมักเรียกเราเตอร์ว่าอะไร
ก. ไอพีเราเตอร์ (IP router)
ข. เราเตอร์ (Router)
ค. สวิตช์แพ็กเก็ต ข้อมูล (Data Switched Packet)
ง. สวิตช์ (Switch)

8.เราเตอร์มีลักษณะการใช้งานคล้ายกับอะไร
ก.ไอพีเราเตอร์ (IP router)
ข. เราเตอร์ (Router)
ค.สวิตช์แพ็กเก็ต ข้อมูล (Data Switched Packet)
ง.สวิตช์ (Switch)

9.Router เป็นตัวชี้ทางเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ตไปยัง
ก.Network
ข. User
ค.ISP
ง. Email

10.ข้อดีของไฟร์วอลล์ เราเตอร์คือข้อใด
ก. เพิ่มฟังก์ชันการทำงานได้ไม่จำกัด
ข. ประสิทธิภาพสูงมีจำนวนอินเตอร์เฟสมาก
ค. อาจมีความเสี่ยงจากระบบปฏิบัติการที่ใช้
ง. อาจต้องการหน่วยความจำมาก
11. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ Router
ก. เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์
ข. เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ กับ ฮับ
ค. เป็นอุปกรณ์ที่ถูกนำมาใช้เพื่อการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย (network)
ง.เชื่อมต่อในระบบ Lan กับ คอมพิวเตอร์

12. การทำงานของ Router คือข้อใด
ก. Bridge กับ Router คือ Bridge ทำงานในระดับ Data Link Layer
ข. ใช้ข้อมูล station address ในการทำงานส่งข้อมูลไปยังที่ใดๆ ซึ่งหมายเลข station address
ค. มีการกำหนดมาจากฮาร์ดแวร์หรือที่ส่วนของ Network Interface Card (NIC)
ง. ถูกทุกข้อ

13.หน้าที่หลักของ Router คือข้อใด
ก. การหาเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูลที่ดีที่สุด
ข. เป็นตัวสำรองในการส่งต่อข้อมูลไปยังเครือข่ายอื่น
ค. Router สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายที่ใช้สื่อสัญญาได้รูปแบบเดียว
ง. เพื่อส่งต่อไปยังเครือข่ายต้นทาง-ปลายทาง

14. Router เป็นอุปกรณ์ที่ซับซ้อนกว่าอะไร
ก. Bridge
ข. node หนึ่งใน LAN
ค. packet
ง. NIC

15. Router คืออะไร
ก. Router เป็นอุปกรณ์ที่ซับซ้อนกว่า Bridge โดยทำงานเสมือนเป็นเครื่อง
ข.ทำหน้าที่รับข้อมูลเข้ามาแล้วส่งต่อไปยังปลายทาง
ค.โดยอาจส่งในรูปแบบของ packet ที่ต่างออกไปเพื่อไปผ่านสายสัญญาณแบบอื่นๆ
ง. ถูกทุกข้อ

16.การส่งข้อมูลก็จะบรรจุข้อมูลนั้นเป็น packet ในรูปแบบของ Layerกี่รูปแบบ
ก. 2 รูปแบบ
ข. 3 รูปแบบ
ค. 4 รูปแบบ
ง. 5 รูปแบบ


17.อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเชื่อมโยงเครือข่ายหลักทั้ง LAN และ WAN ประกอบด้วยอะไรบ้าง
ก.บริดจ์ (Bridge)
ข.เราเตอร์ (Router)
ค.และสวิตช์ (Switch)
ง.ถูกทุกข้อ

18.แอดเดรสที่ใช้ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่เรียกว่า "ไอพีแอดเดรส" (IP Address) แพ็กเก็ตข้อมูลทุกแพ็กเก็ตมีกี่บิต
ก.32 บิต
ข.64 บิต
ค.84 บิต
ง.ไม่มีข้อถูก

19.บริดจ์ (Bridge) ที่ใช้เชื่อมโยงระหว่างอีเทอร์เน็ตกับ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) เป็นอุปกรณืชนิดใด
ก. เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายของเครือข่ายที่แยกจากกัน
ข.เป็นเสมือนตัวแบ่งแยกข้อมูล ระหว่างเครือข่ายให้มีการสื่อสารภายในเครือข่าย
ค.ไม่มีข้อถูก
ง.ถูกทั้งข้อ ก และข้อ ข

20. เราเตอร์สามารถทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการหาเส้นทางเดินที่สั้นที่สุดโดยอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่คัดแยกแพ็กเก็ต เรียกว่าอะไร
ก. Data Switched Packet
ข.Frame Relay
ค.Cell Switch
ง.ATM Switch

เฉลยข้อสอบเราเตอร์ (ปรนัย20ข้อ)
1.เฉลย ก
2.เฉลย ข
3.เฉลย ง
4.เฉลย ค
5.เฉลย ง
6.เฉลย ค
7.เฉลย ก
8.เฉลย ง
9.เฉลย ค
10.เฉลย ข
11.เฉลย ค
12.เฉลย ง
13.เฉลย ก
14.เฉลย ก
15.เฉลย ก
16.เฉลย ง
17.เฉลย ง
18.เฉลย ก
19.เฉลย ก
20. เฉลย ก

ข้อสอบ 60 ข้อ

1. ข้อใดคือ 11001010.00011101.00111001.00000010
ก. 202.50.5.3
ข.202.53.3.2
ค. 202.29.57.2
ง.202.29.52
เฉลย ค. 202.29.57.2 ง.202.29.52

2.ข้อใดคือ 0111110.1.00011000.10011011.01000010
ก. 125.20.155.66
ข. 125.24.155.66
ค. 125.50.15.66
ง. 120.25.55.58
เฉลย ข. 125.24.155.66

3.42.58.5.29 คือ IP Class อะไร
ก. A
ข. B
ค. C
ง. D

4.IP Class A รองรับได้กี่ Host
ก. 2^10 Host
ข. 2^16 Host
ค. 2^14 Host
ง. 2^8 Host
เฉลย ก. 2^10 Host

5. IP Private Class C รองรับได้กี่ Host
ก. 2^10 Host
ข. 2^16 Host
ค. 2^14 Host
ง. 2^8Host
เฉลย ง. 2^8Host

6. คลาสของ Network ข้อใดคือ class A
ก. N.N.N.H
ข. N.H.H.H
ค. N.H.N.H
ง. H.H.H.N
เฉลย ข. N.H.H.H

7.คลาสของ Network ข้อใดคือ Class C
ก. N.N.N.H
ข. N.H.H.H
ค. N.H.N.H
ง. H.H.H.N
เฉลย ก. N.N.N.H

8.Private IP Addresses Class B คือ
ก. 192.168.0.0 through 192.168.255.255
ข. 172.16.0.0 through 172.16.255.255
ค. 10.0.0.0 through 10.255.255.255
ง. 172.16.0.0 through 172.31.255.255
เฉลย ง. 172.16.0.0 through 172.31.255.255

9.Broadcast Address ของ Class C คือ
ก. 255.255.255.254
ข. 255.255.255.256
ค. 255.255.255.255
ง. 255.255.255.0
เฉลย ค. 255.255.255.255

10.ข้อใดคือ Private IP Address
ก. 12.0.0.1
ข. 172.20.14.36
ค. 168.172.19.39
ง. 172.33.194.30
เฉลย ข. 172.20.14.36

11.Subnet Mask ของ /17 คือ
ก. 255.255.128.0
ข. 255.248.0.0
ค. 255.255.192.0
ง. 255.255.248.0
เฉลย ก. 255.255.128.0

12.Subnet Mask ของ /25 คือ
ก. 255.255.128.0
ข. 255.255.255.128
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.240
เฉลย ข. 255.255.255.128

13.Subnet Mask ของ /20 คือ
ก. 255.255.240.0
ข. 255.240.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.240
เฉลย ก. 255.255.240.0

14.Network Mask ของ Class C คือ
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. ถูกเฉพาะ ข้อ ข.
เฉลย ง. ถูกเฉพาะ ข้อ ข.

15.network Mask ของ Class C คือ
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. ถูกทุกข้อ.
เฉลย ค. 255.255.255.0

16.สัญลักษณ์ของการ Mark คือ
ก. #
ข. \
ค. .
ง. /
เฉลย ง. /

17.CIDR คือ
ก. การจัดสรร Subnet แบบไม่แบ่งคลาส
ข. การจัดสรร IP แบบไม่แบ่งคลาส
ค. การหาเส้นทางแบบไม่แบ่งคลาส
ง. การจับรอดแคสสัญญาณข้อมูล แบบไม่แบ่งคลาส
เฉลย

18.การแบ่ง Subnet แบบ Mark 3 Bit ของ Class C มี CIDR เท่ากับ
ก. /21
ข. /25
ค. /27
ง. /29
เฉลย ค. /27

19.การแบ่ง Subnet แบบ Mark 5 Bit ของ Class B มี CIDR เท่ากับ
ก. /15
ข. /17
ค. /19
ง. /21
เฉลย ง. /21
20.การแบ่ง Subnet แบบ Mark 8 Bit ของ Class B มี CIDR เท่ากับ
ก. /16
ข. /20
ค. /24
ง. /27
เฉลย ค. /24

21.การแบ่ง Subnet แบบ Mark 5 Bit ของ Class A มี CIDR เท่ากับ
ก. /13
ข. /21
ค. /30
ง. ผิดทุกข้อ
เฉลย ก. /13

22.จำนวน Host ของการ Mark 4 Bit Class C เท่ากับเท่าใด
ก. 2024 Host
ข. 254 Host
ค. 18 Host
ง. 14 Host
เฉลย ง. 14 Host

23.จำนวน Host ของการ Mark 5 Bit Class C เท่ากับเท่าใด
ก. 2 Host
ข. 6 Host
ค. 14 Host
ง. 30 Host
เฉลย ข. 6 Host

24.จำนวน Subnet ของการ Mark 4 Bit Class A เท่ากับเท่าใด
ก. 2 Subnets
ข. 6 Subnets
ค. 14 Subnets
ง. 30 Subnets
เฉลย ค. 14 Subnets

25. จำนวน Subnet ของการ Mark 6 Bit Class B เท่ากับเท่าใด
ก. 14 Subnets
ข. 30 Subnets
ค. 62 Subnets
ง. 126 Subnets
เฉลย ค. 62 Subnets

26.จำนวน Host ที่เชื่อมต่อได้สูงสุดของ 255.255.255.224
ก. 28 Hosts
ข. 32 Hosts
ค. 30 Hosts
ง. 62 Hosts
เฉลย ค. 30 Hosts

27.จำนวน Host ที่เชื่อมต่อได้สูงสุดของ 255.255.255.192
ก. 28 Hosts
ข. 32 Hosts
ค. 30 Hosts
ง. 62 Hosts
เฉลย ง. 62 Hosts

28.จำนวนวน Host ที่เชื่อมต่อได้สูงสุดของ 255.255.255.192
ก. 4094 Hosts
ข. 521 Hosts
ค. 1024 Hosts
ง. 128 Hosts
เฉลย ก. 4094 Hosts

29.ต้องการใช้ Subnet จำนวน 29 Subnet จะยืม (Mark) จาก คลาส A เท่าไดไหร่
ก. 3
ข. 4
ค. 5
ง. 6
เฉลย ค. 5

30.จากข้อ 29 Subnet Mask ที่แสดงคือ
ก. 255.192.0.0
ข. 255.255.255.248
ค. 255.255.248.0
ง. 255.248.0.0
เฉลย ง. 255.248.0.0

31.ข้อไดไม่ใช่ Sub network ID สำหรับเครื่องที่ใช้ IP Address หมายเลข 200.10.5.68/28

ก. 200.10.5.56
ข. 200.10.5.32
ค. 200.10.5.64
ง. 200.10.5.0

32.ข้อใดคือ Network Address ของหมายเลข172.16.0.0/19
ก. 8 Subnets ; 2,046 Hosts
ข. 8 Subnets ; 8,198 Hosts
ค. 7 Subnets ; 30 Hosts
ง. 7 Subnets ; 62 Hosts

33.ข้อใดคือ Subnet ของ IP address 172.16.210.0/22
ก. 172.16.208.0
ข. 172.16.254.0
ค. 172.16.107.0
ง. 172.16.254.192

34.ข้อใดคือ Subnet ของ IP Address 201.100.5.68/28
ก. 201.100.5.31
ข. 201.100.5.64
ค. 201.100.5.65
ง. 201.100.5.1

35. ข้อใดคือ Subnet ของ IP Address 172.16.11.1/25
ก. 172.16.112.0
ข. 172.16.0.0
ค. 17.16.96.0
ง. 172.15.255.0

กำหนด IP Address 192.168.1.1/28 จงคำนวณหา Sub network ID IP Usage และ Broadcast แลัวตอบคำถาม

36.หมายเลยใด ไม่สามารถใช้ได้
ก. 192.168.1.13
ข. 192.158.1.226
ค. 193.168.1.31
ง. 192.168.1.253

37.หมายาเลยใด เป็น Sub network Id ของ Subnet ที่ 00001000
ก. 192.168.1.13
ข. 192.168.1.226
ค. 192.168.1.31
ง. 192.168.1.253

38.หมายเลขใด เป็น Broadcast ID ของ Subnet ที่ 000010000
ก. 192.168.1.13
ข. 192.168.1.16
ค. 192.168.1.31
ง. 192.168.1.32

39.หมายเลขใด เป็น Sub network ID ของ Subnets ที่ 001100000
ก. 192.168.1.63
ข. 192.168.1.45
ค. 192.168.1.48
ง. 192.168.1.111

40.หมายเลขใด เป็น Broadcast ID ของ Subnet ที่ 001100000
ก. 192.168.1.63
ข. 192.168.1.45
ค. 192.168.1.48
ง. 192.168.1.100

41.หมายเลขใด เป็น IP Usage ของ Subnet ที่ 001100000
ก. 192.168.1.50
ข. 192.168.1.96
ค. 192.168.1.81
ง. 192.168.1.10

กำหนด IP Address 102.168.1.1/27 จงคำนวณหา Sub network Id IP Usage และ Broadcast แล้วตอบคำถาม

42. ข้อใดไม่เข้าพวก
ก. 192.168.1.1
ข. 192.16.1.95
ค. 192.168.33
ง. 192.168.1.124

43.ข้อใดไม่เข้าพวก
ก. 192.168.1.0
ข. 192.168.1.06
ค. 192.168.32
ง. 192.168.1.159

44.หมายเลขใด ไม่สามารถใช้ได้
ก. 192.168.1.193
ข. 192.168.1.161
ค. 192.16.1.127
ง. 192.168.1.60

45.ข้อใดคือ IP Usage ของ Dub network 192.168.1.96
ก. 192.168.1.0 -192.168.1.31
ข. 192.168.1.65 - 192.168.1.04
ค. 192.168.1.97 – 192.168.1.126
ง. 192.168.1.95 – 192.168.1.127

จงใช้ภาพด้านล่างตอบคำถามข้อ 46-50
กำหนดให้ใช้ IP Private Network Class C 192.168.1.1

NET_A :13 Hosts
NET_B :50 Hosts
NET_C :2 Hosts
NET_D :25 Hosts

46.Net_D ควรใช้ / อะไร
ก. /26
ข. /27
ค. /28
ง. /29

47.จาก Network ข้างต้น ใช้ Sub net mask อะไรจึงจะรองรับได้ทุก Network
ก. /26
ข. /27
ค. /28
ง. /29

48.Net_C มีหมายเลย Sub net mask อะไร
ก. 255.255.255.192
ข. 255.255.255.254
ค. 255.255.255.248
ง. 255.266.255.252

49.Net_B มีหมายเลข Subnet Mask อะไร
ก. 255.255.255.192
ข. 255.255.255.254
ค. 255.255.255.248
ง. 255.255.2555.252

50.หากใช้ /26 หมายเลข Sub network IP ของ Network สุดท้ายคือ
ก. 102.168.1.128
ข. 192.168.1.192
ค. 192.168.1.191
ง. 192.168.1.255

51.จากภาพด้านบนเกิดจากการใช้คำสั่งใด
ก. Arq –a
ข. Netstat
ค. Nslookup
ง. Tracert

52. จากภาพด้านบนเกิดจากการใช้คำสั่งใด
ก. Arp-a
ข. Netstat
ค. Nslookup
ง. Ipconfig/all

53.จากภาพด้านบนเกิดจากการใช้คำสั่งใด
ก. Tracert-a
ข. Netstat
ค. Nslookup
ง. Ipconfig/all

54.การใช้คำสั่งตรวจสอบดู computer Name คือ
ก. Ipconfig
ข. Nslookup
ค. Nostname
ง. Tracert

55.การใช้คำสั่งตรวจสอบดู IP และ Subnet Mask คือ
ก. IPconfig
ข. Nslookup
ค. Hostname
ง. Tracert

56.การตรวจสอบการเชื่อมต่อระหว่างต้นทางและปลายทางคือ
ก. Ipconfig
ข. Nslookup
ค. Hostname
ง. Tracert

57.Destination Host Unreachable หมายความว่า
ก. ติดตั้ง IP ที่ Host ไม่ถูกต้อง
ข. ติดตั้ง Card LAN ไม่ถูกต้อง
ค. Host ไม่ถูกเชื่อมต่อกับเครื่องที่ PING
ง. HOST ไม่ถูกเชื่อมต่อกับระบบ

58.Tracert คือ
ก. การหาเส้นทางการเชื่อมต่อจากต้นทางไปปลายทาง
ข. การหาเส้นทางการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์
ค. การตรวจสอบสถานะของระบบเครือข่าย
ง. ตรวจสอบความผิดพลาดของ Packet

59.การเข้าหน้า CMD ทำอย่างไรในครั้งแรก
ก. Start > run > cmd
ข. Start > run > connand
ค. Start > allprogram > accessories> command prompt

60.ARP(Address Resolution Protocol) หรือหมายเลข LAN Card มีกี่ไบต์
ก. 6 Bit
ข. 16 Bit
ค. 8 Bit
ง. 32 Bit

ข้อสอบ Ethernet ( IEEE 802.3 )

1 การส่งข้อมูลของระบบเครือข่ายที่ความเร็ว 100Mbps เรียกวว่าการส่งข้อมูลแบบใด
ก. Fast Ethernet
ข. Gigabit Ethernet
ค. Ethernet
ง. Hub

เฉลย ข้อ ก. Fast Ethernet เพราะสายสัญญาณที่ได้รับความนิยม คือ UTP 10 Base-T โดยปกติสามารถส่งข้อมูลได้เร็วถึง 10 Mbps ผ่าน Hub แต่ถ้าเป็นการส่งข้อมูลของระบบเครือข่ายที่ความเร็ว 100Mbps จะเรียกว่า Fast Ethernet หากความเร็วในการส่งข้อมูลที่ 1000Mbps หรือ 1Gbps จะเรียกว่า Gigabit Ethernet

แหล่งที่มา http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=68e9a256635f4617

2 LAN แบ่งลักษณะการทำงานได้เป็นกี่ประเภท
ก. 1 ประเภท
ข. 2 ประเภท
ค. 3 ประเภท
ง. 4 ประเภท

เฉลย ข. 2 ประเภท เพราะLAN แบ่งลักษณะการทำงานได้เป็น 2 ประเภทคือ peer to peer และ client-server

แหล่งที่มา http://dit.dru.ac.th/task/network/network.html

3 นักศึกษาคิดว่า สถานศึกษาควรใช้ระบบเครือข่ายแบบใด
ก. FDDI
ข. CDDI
ค. ATM
ง. Ethernet

เฉลย ข้อ ง. Ethernet เพราะ เครือข่ายแบบท้องถิ่นในองค์กรต่างๆ ตลอดจน บริษัท สถานศึกษาส่วนใหญ่กว่า80% จะนิยมใช้เครือข่าย Ethernet ส่วนที่เหลือก็จะเป็นพวก FDDI/CDDI, ATM และอื่นๆ

แหล่งที่มา http://210.246.188.53/trang1kmc/modules.php?name=News&file=article&sid=538

4 ปัจจุบันระบบเครือข่ายที่มีความเร็วในการรับส่งข้อมูลมากที่สุดคือ
ก. Fast Ethernet
ข. Gigabit Ethernet
ค. Ethernet
ง. Hub

เฉลย ข้อ ข. Gigabit Ethernet เพราะGigabit Ethernet เป็นส่วนเพิ่มขยายจาก 10 Mbps และ 100 Mbps Ethernet (มาตราฐาน IEEE 802.3 และ IEEE802.3u ตามลำดับ) โดยที่มันยังคงความเข้ากันได้กับมาตราฐานแบบเก่าอย่าง100% Gigabit Ethernet ยังสนับสนุนการทำงานใน mode full-duplex โดยจะเป็นการทำงานในการเชื่อมต่อระหว่าง Switch กับ Switch และระหว่าง Switch กับ End Station ส่วนการเชื่อมต่อผ่าน Repeater, Hub ซึ่งจะเป็นลักษณะของShared-media (ซึ่งใช้กลไก CSMA/CD) Gigabit Ethernet จะทำงานใน mode Half-duplex ซึ่งสามารถจะใช้สายสัญญาณได้ทั้งสายทองแดงและเส้นใยแก้วนำแสง

แหล่งที่มา http://210.246.188.53/trang1kmc/modules.php?name=News&file=article&sid=538

4 IP switching ทำงานอยู่บน Layer ใด ใน OSI
ก. Physical layer
ข. Data link layer
ค. Network layer
ง. Transport layer

เฉลย ข้อ ค. Network layer เพราะSwitch เป็นอุปกรณ์ที่พัฒนาขึ้น โดยเลือกส่งข้อมูลถึงผู้รับเท่าที่จำเป็นเท่านั้น ทำให้เครือข่ายที่ใช้ switch มีความเร็วสูงกว่าเครือข่ายที่ใช้ hub และมีความปลอดภัยสูงกว่า มีการพัฒนา switch ให้ทำงานใน Layer 3 ของ OSI ได้ ซึ่งมีความสามารถเป็น IP switching ทีเดียว

แหล่งที่มา http://www.thaiall.com/internet/internet01.htm

5 ระบบเครือข่ายที่ใช้โปรโตคอลส่งผ่านโทเคนในโทโปโลยีวงแหวน คือข้อใด
ก. IEEE 802.3
ข. IEEE 802.4
ค. IEEE 802.2
ง. IEEE 802.5

เฉลย ข้อ ง. IEEE 802.5 เพราะ (Institute of Electrical and Electronics Engineers)
IEEE กำหนดเครือข่ายเฉพาะที่โดยใช้ตัวเลข 802 ตามด้วยตัวเลขย่อยเป็นรหัสประจำแต่ละมาตรฐาน รูปที่ข้างล่างนี้ เป็นแบบจำลองบางส่วนของมาตรฐานซึ่งเป็นที่รู้จักแพร่หลายได้แก่
• IEEE 802.3 หรืออีเทอร์เนต ใช้โปรโตคอลซีเอสเอ็มเอ/ซีดีในโทโปโลยีแบบบัส
• IEEE 802.4 หรือโทเคนบัส ใช้โปรโตคอลส่งผ่านโทเคนในโทโปโลยีแบบบัส
• IEEE 802.5 หรือโทเคนริง ใช้โปรโตคอลส่งผ่านโทเคนในโทโปโลยีวงแหวน

แหล่งที่มา http://www.thaiall.com/internet/internet01.htm

6 Token-Ring (IEEE 802.5) ถูกพัฒนาขึ้นโดยองค์กรที่มีชื่อว่าอะไร
ก. IBM
ข. ISO
ค. CCITT
ง. IEEE

เฉลย ข้อ ก. IBM เพราะToken-Ring (IEEE 802.5) พัฒนาขึ้นโดย IBM การเชื่อมต่อ(Topology) เป็นแบบ Ring ใช้การเชื่อมสายร้อยเป็นวงหรืออาจใช้การเชื่อมต่อโดยใช้ HUB ซึ่งเป็นแบบเฉพาะใช้ร่วมกับแบบอื่นไม่ได้ หรือเรียกว่า Media Access Unit (MAU) มีความเร็วในการส่งรับข้อมูล 4 Mbps และ 16 Mbps

แหล่งที่มา http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/Network2/6.htm

7 Hub หรือ Switch เหมื่อนกันอย่างไร
ก. มีความเร็วในการรับส่งข้อมูลเหมื่อนกัน
ข. Hub หรือ Switch ต่างเป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง สำหรับเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ค. มีจำนวนช่องเสียบสาย UTP เท่ากัน
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา

เฉลย ข้อ ข. Hub หรือ Switch ต่างเป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง สำหรับเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เพราะHub เป็นอุปกรณ์ในสมัยแรก ที่ทำงานแบบ broadcast เมื่อเครื่องหนึ่งต้องการส่งสัญญาณไปอีกเครื่องหนึ่ง ตัว hub จะทำหน้าที่ส่งออกไปให้กับทุกเครื่อง ถ้าเครื่องเป็นผู้รับ ก็จะรับข้อมูลไป ถ้าไม่ใช้ก็จะไม่รับ ดังนั้นเมื่อซื้อ hub ขนาด 10 port ที่มีความเร็ว 10 Mbps(Mega Bit Per Second) ความเร็วที่ได้ก็ต้องหาร 10 เหลือเพียง 1 Mbps เมื่อใช้งานจริง หากมีผู้ใช้คนหนึ่งใช้โปรแกรม sniffer คอยดักจับ package ที่ส่งจาก hub ก็จะทราบข้อมูลต่าง ๆ ที่อยู่ในเครือข่ายนั้นทั้งหมด เช่น เนื้อความในจดหมาย เลขบัตรเครดิต username หรือ password ของผู้ใช้คนอื่น ๆ เป็นต้น สำหรับ Hub บางรุ่นจะมีช่อง Uplink สำหรับเชื่อมต่อ Hub อีกตัวหนึ่ง เพื่อขยายช่องสัญญาณ โดยใช้สาย Cross link ในการเชื่อม hub ผ่าน Uplink port โดยปกติ Hub แบบเดิมจะเป็นการเชื่อมเครือข่ายแบบ Ethernet 10BaseT หรือมีความเร็วที่ 10 Mbps นั่นเอง

Switch เป็นอุปกรณ์ที่พัฒนาขึ้น โดยเลือกส่งข้อมูลถึงผู้รับเท่าที่จำเป็นเท่านั้น ทำให้เครือข่ายที่ใช้ switch มีความเร็วสูงกว่าเครือข่ายที่ใช้ hub และมีความปลอดภัยสูงกว่า มีการพัฒนา switch ให้ทำงานใน Layer 3 ของ OSI ได้ ซึ่งมีความสามารถเป็น IP switching ทีเดียว

แหล่งที่มา http://www.thaiall.com/internet/internet01.htm

Ethernet (IEEE 802.3 )

Ethernetในระยะเวลาปี 1972 Metcalfe และผู้ร่วมงานใน Xerox PARC ได้พัฒนาการทดลองระบบ Ethernet เพื่อติดต่อกับ Xerox Alto workstation ด้วย user interface การทดลองของ Ethernet ทำให้สามารถเชื่อมต่อระหว่าง Alto กับหน่วยงานอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็น server และเครื่องพิมพ์ สัญญาณนาฬิกาที่ใช้ติดต่อกับการทดลอง Ethernet นี้ได้รับการติดต่อมาจากระบบนาฬิกาของ Alto ที่มีผลของอัตราการส่งข้อมูลจากการทดลองเป็น 2094 Mbpsการทดลองทางเครือข่ายในครั้งแรกของ Metcalfe นี้ถูกเรียกว่า Alto Aloha Network ในปี 1973 Metcalfe ได้เปลี่ยนเป็น Ethernet ที่มีความชัดเจนของระบบและสนับสนุนการใช้คอมพิวเตอร์ในระบบใหม่ที่เปลี่ยนแปลงมาจากระบบ Aloha โดยเขาได้เลือกชื่อที่มาจาก Ether ซึ่งได้อธิบายถึงลักษณะสำคัญของระบบทางกายภาพ (เช่น สาย) ที่จะส่งข้อมูลไปยังหน่วยงาน ซึ่งมีความหมายเช่นเดียวกับ ether ที่ให้แสงสว่าง ที่เป็นการแพร่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในอากาศ ดังนั้นจึงเกิด Ethernet ขึ้นอีเธอร์เน็ต ( Ethernet) เป็นชื่อเรียกวิธีการสื่อสารในระดับล่างหรือที่เรียกว่าโปรโตคอล (Protocol) ของระบบ LAN ชนิดหนึ่งคะ พัฒนาขึ้นโดย 3 บริษัทใหญ่คือบริษัท Xerox Corporation, Digital Equipment Corporation (DEC) และ Intel ในปี ค.ศ. 1976 ตามมาตรฐาน IEEE 802.3




การเชื่อมเครือข่ายแบบ Ethernet สามารถใช้สายเชื่อมได้ทั้งแบบ Co-Axial และ UTP (Unshielded Twisted Pair) โดยสายสัญญาณที่ได้รับความนิยม คือ UTP 10 Base-T โดยปกติสามารถส่งข้อมูลได้เร็วถึง 10 Mbps ผ่าน Hub แต่ถ้าเป็นการส่งข้อมูลของระบบเครือข่ายที่ความเร็ว 100Mbps จะเรียกว่า Fast Ethernet หากความเร็วในการส่งข้อมูลที่ 1000Mbps หรือ 1Gbps จะเรียกว่า Gigabit EthernetEthernet เป็นระบบ LAN อีกระบบที่มีค่าใช้จ่ายน้อยแต่ความเร็วสูง โดย adapter card สำหรับ PC มีราคาอยู่ในช่วง 60 $ ถึง 120 $ โดยที่สามารถส่งถ่ายและรับข้อมูลในอัตรา 10 million bits per sec. ในระยะทาง 300 ฟุตของสายโทรศัพท์ โดยใช้ศูนย์กลางของการเดินสายไปในห้องเล็ก ๆ ในแต่ละจุด จะใช้ทั้งสาย Thicknet และสาย Fiber opticโดยส่วนใหญ่ Ethernet ที่รวบรวมอยู่บน Thicknet coax เพราะเป็นการติดต่อเชื่อมโยงในตอนที่ Xerox ได้คิดค้นระบบ LAN การติดต่อเชื่อมโยงภายในองค์กรในอาคารเดียวกัน จะใช้สาย coax ที่เรียกว่า Thinnet ซึ่งจะต้องคำนึงถึงสื่อที่ใช้ในการเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์อย่างไรก็ตาม ในเครื่อง PC และ Macintosh ได้เปลี่ยนลักษณะการเชื่อมโยงทางภูมิศาสตร์ ซึ่งคอมพิวเตอร์ที่ใช้ติดต่อระหว่างหอพัก , บ้าน ได้ใช้สายโทรศัพท์ที่ต่อมาจากใต้ดินไปยัง desktop




คำจำกัดความของ EthernetEthernet เป็นส่วนของ layer 1, 2 ของ OSI model ส่วน layer 3 – 7 ไม่ได้เป็นส่วนของ Ethernet แม้ว่า Ethernet จะเป็น package ของ TCP/ IP ซึ่ง TCP/IP มีการใช้ network – layer function ของ Ethernet โดยเมื่อใช้งานกับคอมพิวเตอร์แล้วจะทำให้จำกัดความเร็วและหน่วยความจำ ซึ่งเป็นข้อเสียเปรียบของ TCP/IP ในการใช้งานEthernet จะอยู่ในรูปแบบของ hardware ส่วน protocol จะอยู่ทางด้าน software ถูกสร้างขึ้นภายใต้พื้นฐานของ hardware ใน operating system ก็มีส่วนประกอบเป็น function ที่สร้างโดย Ethernet controller โดยความเกี่ยวข้องของ Ethernet อยู่ที่ความแตกต่างและขัดแย้งกันของ software อย่างไรก็ตาม Ethernet เป็นระบบที่ง่ายต่อการส่งข้อมูล และดูแลความสำคัญของ code โดยจะเชื่อมต่อกันทางสายโทรศัพท์แล้วต่อไปยัง application software ต่างกัน และมีระบบมาตรฐานที่สำคัญ






เครือข่ายอีเธอร์เน็ตแบบสตาร์ ( 10BaseT/100BaseT)
เครือข่ายอีเธอร์เน็ตแบบสตาร์หรือมีชื่อทางเทคนิคว่า 10BaseT ซึ่งต่อไปจะเรียกง่าย ๆ ว่าระบบ LAN แบบสตาร์ จะใช้อุปกรณ์ประเภท Hub หรือ Switch เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อโดยจะต้องใช้สาย UTP (CAT5) ต่อระหว่างการ์ด LAN ของเครื่องพีซีแต่ละเครื่องมาที่พอร์ตของ Hub หรือ Switch เครือข่ายแบบนี้นิยมใช้ในบริษัทหรือตามร้านอินเตอร์เน็ตคาเฟ่ทั่ว ๆไป ถ้าจะนำมาใช้ในบ้านก็ไม่ผิด เนื่องจากราคาอุปกรณ์ไม่ว่าจะเป็น Hub หรือ Switch การ์ด LAN และสาย UTP (CAT5) ในปัจจุบันค่อนข้างถูกในขณะที่ความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงมากถึง 100 Mbps ( จริง ๆ ปัจจุบันได้ถึง 1000 Mbps แต่อุปกรณ์ยังมีราคาแพงอยู่) ซึ่งเพียงพอต่อการเล่นเกมผ่านระบบ LAN ได้อย่างสบาย วิธีนี้พวกร้านอินเตอร์เน็ตคาเฟ่นำไปใช้เป็นสูตรสำเร็จในการสร้างระบบ LAN ภายในร้านกันถ้วนหน้า


เทคโนโลยีเครือข่าย (Network Technology)เทคโนโลยีของการสร้างเครือข่ายที่ใช้กันอยู่หลัก ๆ จะมีอยู่ประมาณ 5 วิธีคือ 1. การใช้เครือข่ายอีเธอร์เน็ตแบบสตาร์ 2. การใช้เครือข่ายอีเธอร์เน็ตแบบบัส 3. การใช้สายโทรศัพท์ในบ้าน 4. การใช้สายไฟฟ้าในบ้าน 5. การใช้เทคโนโลยีไร้สายEthernet คืออะไรอีเธอร์เน็ต ( Ethernet) เป็นชื่อเรียกวิธีการสื่อสารในระดับล่างหรือที่เราเรียกว่าโปรโตคอล ( Protocol) ของระบบ LAN ชนิดหนึ่งที่พัฒนาขึ้นโดย 3 บริษัทใหญ่คือบริษัท Xerox Corporation, Digital Equipment Corporation (DEC) และ Intel ในปี ค.ศ. 1976ปัจจุบันมีอายุได้ประมาณเกือบ 30 ปีแล้ว โดยถูกจัดให้เป็นมาตรฐานของ IEEE 802.3 และใช้กันอย่างแพร่หลายจนกระทั่งถึงปัจจุบัน อีเธอร์เน็ตในช่วงแรกทำความเร็วได้ 10 Mbps แต่ปัจจุบันมีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ที่เรียกว่า Fast Ethernet และ Gigabit Ethernet ที่ทำความเร็วได้ถึง 100 Mbps และ 1000 Mbps ตามลำดับอีเธอร์เน็ตจะใช้เทคนิคในการรับส่งข้อมูลที่เรียกว่า CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access / Collision Detection) ซึ่งอธิบายได้คือในการส่งข้อมูลครั้งหนึ่ง ๆ จะกระทำได้ครั้งละคนเท่านั้น หากมีการส่งข้อมูลมากว่า 1 คนพร้อม ๆ กันจะทำให้ข้อมูลชนกันและนำมาใช้ไม่ได้ ซึ่งเหตุการณ์นี้เรียกว่าการเกิด “Collision” ซึ่งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ จะมีสามารถในการตรวจสอบการเกิด Collision ได้จึงเป็นที่มาของคำว่า “Collision Detection” และเมื่อเกิด Collision ขึ้นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แต่ละชิ้นนั้นจะต้องมีการหยุดรอเพื่อส่งข้อมูลใหม่ โดยช่วงระยะเวลาที่แต่ละคนต้องหยุดรอเพื่อส่งข้อมูลใหม่นั้นจะอาศัยการคำนวณทางสถิติแบบสุ่ม (Random) ซึ่งโอกาสที่จะกลับมาส่งข้อมูลพร้อมกันอีกจึงมีน้อยมาก อย่างไรก็ตามหากเกิด Collision ขึ้นอีกก็ใช้วิธีหยุดรอเพื่อส่งข้อมูลใหม่ตามขั้นตอนที่ผ่านมานั่นเอง นอกจากนี้เพื่อลดโอกาสการเกิด Collision อุปกรณ์คอมพิวเตอร์จึงมีความสามารถในการตรวจสอบว่าปัจจุบันมีใครกำลังส่งข้อมูลอยู่หรือไม่ ถ้ามีจะไม่ส่งข้อมูลเข้าไปรบกวนซึ่งวิธีนี้เป็นที่มาของคำว่า Carrier Sense นั่นเอง สำหรับคำว่า Multiple Access ก็คือการที่อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ใช้สื่อชุดเดียวกันในการรับส่งข้อมูลนั่นเองเครือข่ายอีเธอร์เน็ตแบบสตาร์ ( 10BaseT/100BaseT)เครือข่ายอีเธอร์เน็ตแบบสตาร์หรือมีชื่อทางเทคนิคว่า 10BaseT ซึ่งต่อไปจะเรียกง่าย ๆ ว่าระบบ LAN แบบสตาร์ จะใช้อุปกรณ์ประเภท Hub หรือ Switch เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อโดยจะต้องใช้สาย UTP (CAT5) ต่อระหว่างการ์ด LAN ของเครื่องพีซีแต่ละเครื่องมาที่พอร์ตของ Hub หรือ Switch เครือข่ายแบบนี้นิยมใช้ในบริษัทหรือตามร้านอินเตอร์เน็ตคาเฟ่ทั่ว ๆไป ถ้าจะนำมาใช้ในบ้านก็ไม่ผิด เนื่องจากราคาอุปกรณ์ไม่ว่าจะเป็น Hub หรือ Switch การ์ด LAN และสาย UTP (CAT5) ในปัจจุบันค่อนข้างถูกในขณะที่ความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงมากถึง 100 Mbps ( จริง ๆ ปัจจุบันได้ถึง 1000 Mbps แต่อุปกรณ์ยังมีราคาแพงอยู่) ซึ่งเพียงพอต่อการเล่นเกมผ่านระบบ LAN ได้อย่างสบาย วิธีนี้พวกร้านอินเตอร์เน็ตคาเฟ่นำไปใช้เป็นสูตรสำเร็จในการสร้างระบบ LAN ภายในร้านกันถ้วนหน้า


อุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างระบบ LAN แบบสตาร์
1 Hub หรือ Switchทั้ง Hub หรือ Switch ( หรือ Switching Hub) ต่างเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็นจุดเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าในระบบ LAN แบบสตาร์ หน้าตาของ Hub และ Switch ดูภายนอกจะคล้าย ๆ กันคือ มีลักษณะ เป็นกล่องสี่เหลี่ยมที่ด้านหน้าจะมีพอร์ตแบบ RJ-45 ไว้ให้เสียบที่มาจากการ์ด LAN สำหรับจำนวนพอร์ตต่อตัวก็แตกต่างกันไปซึ่งมีตั้งแต่ 4, 5, 8, 12, 16 และ 24 พอร์ต ขึ้นอยู่กับยี่ห้อและรุ่น หน้าตาของ Hub และ Switch
2 LAN Cardการ์ด LAN มีชื่อเรียกกันหลายอย่าง เช่น Network Adapter Card, Network Interface Card (NIC) และ Ethernet Card แต่เราเรียกย่อ ๆ ว่า “ การ์ด LAN” เครื่องพีซีหรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่จะต่อเข้ากับระบบ LAN ทุกตัวจะต้องมีการ์ด LAN ซึ่งอาจติดมากับเครื่องพีซีบางรุ่นเลย หรืออาจต้องซื้อมาเสียบเพิ่ม ซึ่งโดยทั่วไปจะเป็นแบบเสียบเข้ากับสล็อต PCI หรือถ้าเป็นรุ่นเก่าหน่อยก็จะเป็นแบบเสียบกับสล็อต ISA ดังนั้นก่อนจะซื้อการ์ด LAN ควรจะตรวจสอบเมนบอร์ดของเครื่องพีซีก่อนว่ามีสล็อตเป็นแบบ PCI หรือ ISA พร้อมกับตรวจสอบระดับความเร็วของ Hub หรือ Switch ที่จะมาใช้คู่กันด้วย
การ์ด LAN ที่ใช้กับระบบ LAN แบบสตาร์นั้นจะต้องมีช่องไว้สำหรับเสียบสาย UTP แบบ RJ-45 ด้วย ซึ่งลักษณะจะแตกต่างจากการ์ด LAN ที่ใช้สำหรับระบบ LAN แบบบัสที่เป็นแบบหัวกลม นอกจากนี้ก็ยัง มีการ์ดแบบผสมที่ใช้ได้ทั้งกับระบบ LAN แบบบัสและระบบ LAN แบบสตาร์ สำหรับการ์ด LAN ที่ใช้กับระบบ LAN แบบสตาร์จะมีทั้งความเร็ว 10, 100 หรือ 10/100 Mbps หน้าตาของการ์ด LAN เป็นดังรูปข้างล่างซึ่งจะมีช่องเสียบกับสาย UTP ที่เข้าหัวแบบ RJ-45
การเลือกซื้อการ์ด LAN จะต้องเลือกการ์ดที่มีระดับความเร็วที่เข้ากันได้กับ Hub หรือ Switch เพราะถ้าซื้อ Hub หรือ Switch แบบ 100 Mbps แล้วการ์ด LAN ของเป็น 10 Mbps ก็ใช้ด้วยกันไม่ได้ ดังนั้นถ้าจะให้ ยืดหยุ่นหรือปลอดภัยไว้ก่อนควรซื้อแบบ 10/100 Mbps ( ใช้ได้ทั้งแบบ 10 และ 100 Mbps) ไปเลยดีกว่าทั้งการ์ด LAN และ Hub/Switch
4 สายคู่บิดเกลียว ( Twisted Pair)คือสายสัญญาณที่ใช้ในระบบ LAN แบบสตาร์ ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิดคือ แบบมีฉนวนหุ้มที่เรียกว่า “Shielded Twisted Pair” หรือ STP และแบบไม่มีฉนวนหุ้ม หรือ “Unshielded Twisted Pair) หรือ UTP แบบมีฉนวนหุ้มจะสามารถป้องกันการรบกวนทางไฟฟ้าได้ดีกว่า แต่ถ้าใช้กับระบบ LAN โดยทั่ว ๆ ไปจะใช้สาย UTP แบบ CAT5 (Category 5) ซึ่งให้ความเร็วได้สูงสุด 100 Mbps และระยะทำการ ไม่เกินเส้นละ 100 เมตร ในปัจจุบันมีสายแบบ UTP แบบ CAT5e ซึ่งสามารถสนับสนุนความเร็วได้ถึง 1000 Mbps หรือ 1 จิกาบิต ที่ใช้กับ Gigabit Ethernet แต่สามารถนำมาใช้แทน CAT5 ได้


เครือข่ายอีเธอร์เน็ตแบบบัส ( 10Base2)
เครือข่ายอีเธอร์เน็ตแบบบัสมีชื่อเรียกกันไปหลาย ๆ อย่าง เช่น 10Base2, Thinnet, CheaperNet หรืออะไรก็ตาม แต่เรียกง่าย ๆ ว่าระบบ LAN แบบบัส คือระบบ LAN แบบอีเธอร์เน็ตที่ไม่ต้องมี Hub/Switch โดยสายที่ใช้จะต้องเป็นสายที่เรียกว่า “ โคแอกเชียล ” (Coaxial) และ “ การ์ด LAN” ที่ใช้จะต้องเป็นแบบ BNC ซึ่งจะทำความเร็วได้สูงสุด 10 Mbps


อุปกรณ์ที่ต้องใช้ในระบบ
1 สายโคแอกเชียล ( Coaxial) และหัวต่อต่าง ๆสายโคแอกเชียลหรือที่เรียกว่า “10Base2” คือสายสัญญาณที่ใช้ในระบบ LAN แบบบัสมี 2 แบบคือแบบหนา ( Thick Coaxial) และแบบบาง ( Thin Coaxial) แต่ที่จะนำมาใช้คือแบบบาง หรือเรียกอีกย่างหนึ่งว่า RG-58 ซึ่งมีความต้านทาน 50 โอห์ม การต่อสายเข้ากับการ์ด LAN ที่มีหัวแบบ BNC (British Naral Connector) โดยผ่านตัว T-Connector และที่ปลายสายทั้งสองด้าน จะต้องปิดด้วยหัวจุก Terminator ขนาด 50 โอห์มเสมอ ระยะทำการของสายจากเครื่องแรกจนกระทั่ง เครื่องสุดท้ายไม่เกินประมาณ 185 เมตร




การต่อโดยใช้สาย Coaxial และหัวต่อต่างๆ


2 การ์ด LAN สำหรับระบบ LAN แบบบัส ( หัวกลม)การ์ด LAN สำหรับ LAN แบบบัส คือการ์ด LAN ที่มีหัว BNC ( หัวกลม) สำหรับต่อเข้ากับสายโคแอกเชียลในระบบ LAN แบบบัสดังรูป ความเร็วที่ต่อได้จะเป็น 10 Mbps เท่านั้น เนื่องจากยังไม่มีการพัฒนาเทคโนโลยีแบบ 100 Mbps บนระบบ LAN แบบบัส

เครือข่ายโทรศัพท์ในบ้าน ( Phoneline Network)คือการนำสายโทรศัพท์ในบ้านมาใช้ ในการรับส่งข้อมูลนอกเหนือจากการใช้โทรศัพท์ตามปกติ เหมาะสำหรับบ้านที่มีการเดินสายโทรศัพท์ภายในที่เป็นระบบอยู่แล้ว คือมีการติดตั้งปลั๊กโทรศัพท์ ไว้ตามจุดต่าง ๆ ในบ้าน เช่น ห้องรับแขก ห้องครัว ห้องนอน หรือห้องนั่งเล่น เป็นต้น ซึ่งบ้านฝรั่งส่วนมากจะเป็นแบบนั้น ถ้าบ้านไม่ได้มีการเดินสายในลักษณะนี้ก็ไม่เหมาะจะใช้เทคโนโลยีนี้ ซึ่งเป็นการผสมผสานเครือข่ายแบบ Phoneline Network เข้ากับเครือข่ายอีเธอร์เน็ตแบบสตาร์อุปกรณ์ที่ต้องใช้ในระบบอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ในการสร้างระบบเครือข่ายโทรศัพท์ในบ้าน จะมีรายเอียดดังต่อไปนี้
1 HomePNA Adapterคืออุปกรณ์ที่ทำหน้าที่คล้าย ๆโมเด็ม ซึ่งมีแบบภายในและภายนอก โดย Adapter แบบภายในจะ เสียบสล็อตแบบ PCI ในเครื่องพีซี สำหรับ Adapter แบบภายนอกจะเสียบเข้ากับพอร์ต USB ของเครื่องพีซี และ Adapter ทั้งสองชนิดนี้จะมีพอร์ตหรือปลั๊กโทรศัพท์ ( RJ-45) อยู่ 2 ช่องโดยช่องแรกจะไว้ให้เสียบ สายโทรศัพท์เข้ากับปลั๊กโทรศัพท์ตามผนังห้องในบ้าน และช่องที่สองไว้สำหรับต่อเข้าหัวโทรศัพท์ หรือโมเด็มได้ ซึ่งในระหว่างที่คุยโทรศัพท์หรือโมเด็มอยู่ก็จะไม่ไปรบกวนสัญญาณของอุปกรณ์ HomePNA Adapter แต่อย่างใด กล่าวคือสามารถใช้พร้อมกันได้นั่นเอง


รูปแสดง Adapter PCI and HomePNA
2 HomePAN to Ethernet Bridgeในกรณีที่ต้องการเชื่อมต่อไปยังเครือข่ายประเภทอื่น ๆ เช่น เครือข่ายอีเธอร์เน็ต หรือเอาไว้ต่อพ่วงเข้ากับอุปกรณ์สำหรับแชร์อินเตอร์เน็ต (Internet Gateway) ที่ใช้ ADSL/cable Modem
แหล่งที่มา
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=68e9a256635f4617
http://www2.cs.science.cmu.ac.th/seminar/2547/Powerline_Network/nettech.htmhttp://staff.cs.psu.ac.th/noi/cs344-481/group19_ethernet/Ethernet.htm

อิเธอร์เนต 10 Mbps (10BASE-T)

อิเธอร์เนต 10 Mbps
การเชื่อมต่อแบบ 10BaseT นั้นเป็นที่นิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบัน เนื่องจากติดตั้งได้ง่าย และดูแลรักษาง่าย ความจริง 10BaseT ไม่ได้เป็น Ethernet โดยแท้ แต่เป็นการผสมระหว่าง Ethernet และ Tolopogy แบบ Star สายที่ใช้ก็จะเป็น สาย UTP และมีอุปกรณ์ตัวกลางเป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างสายที่มาจากเครื่อง ทุกเครื่องในระบบเครือข่าย อุปกรณ์ตัวกลางนี้เรียกว่า HUB ซึ่งจะคอยรับสัญญาณระหว่าง เครื่อง Client กับเครื่อง Server ในกรณีที่มีสายจากเครื่อง Client ใดเกิดเสียหรือมีปัญหา สัญญาณไฟที่ปรากฏอยู่บน Hub จะดับลง ทำให้เราทราบได้ว่า เครื่อง Client ใดมีปัญหา และปัญหาที่เกิดขึ้น จะไม่มีผลกระทบใด ๆ ต่อระบบ Network เลย แต่ระบบนี้จะต้องทำการดูแลรักษา Hub ให้เป็นอย่างดี เนื่องจาก Hub มีปัญหา จะส่งผลกระทบ ทำให้ระบบหยุดชะงักลงทันที



การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายในลักษณะ 10BaseT นั้น เครื่องทุกเครื่องจะต้องเชื่อมต่อเข้ากับอุปกรณ์ HUB โดยใช้สาย UTP ซึ่งเข้าหัวต่อเป็น RJ45 เสียบเข้ากับ HUB และ Card Lan ซึ่งจะเห็นว่า เครือข่ายแบบ 10BaseT นี้จะใช้อุปกรณ์ไม่กี่อย่าง ซึ่งต่างกับระบบเครือข่าย 10Base2 แต่อุปกรณ์ของ 10BaseT นั้นจะแพงกว่า
แหล่งที่มา
http://www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/net2/10tbase.htm

Fast Ethernet

Fast Ethernet
เช่นเดียวกับเทคโนโลยีเครือข่ายอื่น ๆ ระบบเครือข่าย Fast Ethernet สามารถทำงานบนสื่อสายสัญญาณ ต่าง ๆ ที่สามารถใช้ได้ดีบนเครือข่ายแบบนี้ ได้แก่ สายตีเกลียวแบบ Unshield Twisted Pair (UTP) แบบ Categories 5 และ 3 รวมทั้งสาย Fiber Optic
ระบบเครือข่าย LAN เช่นระบบ Ethernet และ Fast Ethernet จัดได้ว่าเป็นเครือข่ายที่ไม่ขึ้นอยู่กับสายสื่อสัญญาณที่ใช้ หมายความว่า การทำงานขั้นพื้นฐานของมันไม่ขึ้นกับสายสัญญาณที่ใช้งานอยู่ การทำงานขั้นพื้นฐานได้แก่ กฎกติกาการเข้าถึง (Access) เครือข่าย เช่น CSMA/CD เป็นเรื่องของการ Interface ระหว่าง LAN Card หรือ NIC (Network Interface Card) หาใช่อยู่ที่สายสัญญาณไม่
สถาปัตยกรรมเครือข่าย Fast Ethernet เป็นเครือข่ายที่มีรูปแบบที่เรียกว่า Modular หรือประกอบด้วยชั้นของการทำงานอย่างเป็นระบบ
รูปภาพที่1





จากภาพที่ 1 แสดงให้เห็นระดับชั้น MAC ของ LAN Card หรือ NIC ที่เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ Repeater Hub ทางสายสัญญาณ (ระดับชั้น MAC นี้เป็นระดับชั้นย่อยในระดับชั้น Data Link Layer หรือระดับชั้น 2 ใน OSI Model ที่เรียกว่า PHY เป็นส่วนของการเชื่อมต่อที่ทำงานบน Layer 1 หรือ Physical Layer ใน OSI Model
ข้อแตกต่างที่สำคัญประการหนึ่งและเห็นได้ชัดคือ ระบบเครือข่าย Ethernet ทั่วไปสนับสนุนการเชื่อมต่อแบบบัส (BUS) และแบบ Star ขณะที่เครือข่าย Fast Ethernet สนับสนุนการเชื่อมต่อแบบ Star เท่านั้น และจะต้องเชื่อมต่อระหว่าง Repeater Hub กับสถานีการทำงานหรือคอมพิวเตอร์โดยตรงเท่านั้น นอกจากนี้ระบบเครือข่าย Fast Ethernet ไม่สนับสนุนการเชื่อมต่อด้วยสาย Coaxial ซึ่งเป็นแบบที่ใช้กับเครือข่าย Ethernet ธรรมดา อย่างไรก็ดีระบบเครือข่าย Fast Ethernet ที่ได้รับมาตรฐาน IEEE 802.3u สามารถรอ


รับการเชื่อมต่อด้วยสื่อสายสัญญาณดังต่อไปนี้



มีคำถามว่าระบบเครือข่าย Fast Ethernet สามารถใช้สายตีเกลียวชนิด Shield ที่สามารถป้องกันสัญญาณรบกวนได้หรือไม่ คำตอบคือ มาตรฐานการเดินสายสัญญาณของระบบนี้ ไม่ได้ระบุความต้องการที่จะใช้สายระบบเครือข่าย Ethernet ยังไม่มีการกำหนดมาตรฐานของชุดเชื่อมต่อ (Connector) สำหรับสาย STP เช่น DB-9 เป็นต้น ยิ่งไปกว่านี้ ท่านจะไม่มีโอกาสได้เห็น LAN Card ที่ใช้ Connector แบบ DB-9 แน่นอนระบบเครือข่าย Ethernet ธรรมดา และ Fast Ethernet มักจะถูกเรียกว่าเป็นเครือข่ายที่ทำงานแบบ Haft-Duplex ซึ่งหมายถึง คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับ Repeater Hub จะใช้กฎกติกาการเข้าสูเครือข่ายเพื่อใช้งานภายใต้กฎกติกา CSMA/CD ตามปกติ มิใช่ กฎกติกา Full Duplexระบบ Haft-Duplex หมายถึงการสื่อสารบนเครือข่ายของคอมพิวเตอร์จะต้องเป็นไปในรูปแบบผลัดกันรับหรือส่ง จะรับและส่งในคราวเดียวกันไม่ได้ เนื่องจากภาคการรับและการส่งข้อมูลจะใช้ช่องสัญญาณเดียวกัน แต่ถ้าหากเป็นแบบ Full-Duplex จะมีการแยกสายสัญญาณออกมา สำหรับการรับและส่งข้อมูลโดยเฉพาะ ดังเช่น 100 Base-TX (ดังภาพ 2) ซึ่งมีการแยกคู่สายสัญญาณออกเป็น 2 คู่ คู่หนึ่งสำหรับส่งข้อมูลและอีกคู่หนึ่งสำหรับรับข้อมูล
รูปภาพที่2



การเชื่อมต่อทางกายภาพของ 100Base-TX และ 100Base-FX ระหว่าง LAN Card กับ Repeater Hub (ดังภาพ 2) จัดว่าเป็น Full-Duplex อย่างแท้จริง โดยมีการแยกเส้นทางสำหรับการรับและส่งข้อมูลที่ปลายด้านของคู่สายอย่างชัดเจนภาพที่ 2 เป็นการแสดงให้เห็นว่า LAN Card ที่ตัวคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อกับ Repeater Hub แบบ Full-Duplex ได้อย่างไร หากสังเกตจะเห็นว่า ทางด้านของส่วนที่ใช้ส่งข้อมูลและส่วนที่ใช้รับข้อมูลตรงที่ PMD,PMA, PCS รวมทั้ง MAC ได้มีการแยกจากกันออกมา ถ้ามองจากคอมพิวเตอร์หรือ Node การรับและส่งข้อมูลถือว่าเป็นการทำงานที่แยกออกจากกันโดยสิ้นเชิงแหล่งที่มา
http://www.paktho.ac.th/computerptk/introcom/FastEthernet.htm


Gigabit Ethernet

Gigabit Ethernetปัจจุบันเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้มีบทบาทต่อชีวิตประจำวันมากขึ้นทุกขณะ การเจริญเติบโตของเครือข่ายคอมพิวเตอร์เหล่านี้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง และยังไม่มีสัญญานบ่งบอกว่าจะมีการ ชลอตัวแต่อย่างใด เครือข่ายแบบท้องถิ่นในองค์กรต่างๆ ตลอดจน บริษัท สถานศึกษาส่วนใหญ่กว่า80% จะนิยมใช้เครือข่าย Ethernet ส่วนที่เหลือก็จะเป็นพวก FDDI/CDDI, ATM และอื่นๆ ด้วยความต้องการการส่งผ่านข้อมูลที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตามขนาดและจำนวน เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่ออยู่บนเครือข่าย ตลอดจนการเติบโตของ Internet อย่างรวดเร็ว จึงทำให้เครือข่าย Ethernet แบบดั้งเดิมที่มีความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลอยู่ที่ 10 Mbps เริ่มจะไม่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ






รูป แสดงส่วนประกอบต่างๆของ Gigabit Ethernet ซึ่งได้มีการรวม Fiber Channel เข้าไว้ด้วย
Gigabit Ethernet (IEEE802.3z)เป็นมาตรฐานใหม่ของเทคโนโลยีเครือข่ายท้องถิ่น (LAN-Local Area-Network) ที่พัฒนามาจาก เครือข่ายแบบ Ethernet แบบเก่าที่มีความเร็ว 10 Mbps ให้สามารถรับส่งข้อมูลได้ที่ระดับความเร็ว 1 Gbps ทั้งนี้เทคโนโลยีนี้ ยังคงใช้กลไก CSMS/CD ในการร่วมใช้สื่อเหมือนEthernet แบบเก่า หากแต่มีการพัฒนาและดัดแปลงให้สามารถรองรับความเร็วในระดับ 1 Gbps ได้Gigabit Ethernet เป็นส่วนเพิ่มขยายจาก 10 Mbps และ 100 Mbps Ethernet (มาตราฐาน IEEE 802.3 และ IEEE802.3u ตามลำดับ) โดยที่มันยังคงความเข้ากันได้กับมาตราฐานแบบเก่าอย่าง100% Gigabit Ethernet ยังสนับสนุนการทำงานใน mode full-duplex โดยจะเป็นการทำงานในการเชื่อมต่อระหว่าง Switch กับ Switch และระหว่าง Switch กับ End Station ส่วนการเชื่อมต่อผ่าน Repeater, Hub ซึ่งจะเป็นลักษณะของShared-media (ซึ่งใช้กลไก CSMA/CD) Gigabit Ethernet จะทำงานใน mode Half-duplex ซึ่งสามารถจะใช้สายสัญญาณได้ทั้งสายทองแดงและเส้นใยแก้วนำแสงหลักพึ้นฐานหลักการพื้นฐานที่สำคัญของ Gigabit Ethernet (IEEE802.3z) คือการปรับแก้ส่วนของ MAC Layer (Media Access Control Layer) โดยกลไกที่เรียกว่า Carrier Extension โดยกลไกตัวนี้จะทำการเพิ่มความยาวของเฟรมที่มีขนาดน้อยกว่า 512 ไบต์ โดยจะทำการเพิ่มข้อมูลเข้าไปยังส่วนท้ายของเฟรมเพื่อให้เฟรมข้อมูลนั้นมีขนาดเท่ากับ 512 ไบต์ เหตุที่ต้องทำเช่นนี้เนื่องมาจากว่าใน Ethernet แบบแรกที่ความเร็ว 10Mbps (IEEE802.3) นั้นได้มีการกำหนดออกแบบเอาไว้ว่าจะต้องสามารถ ตรวจจับ (detect) การชนการของข้อมูล (Collision) ได้เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เครือข่ายที่อยู่ห่างกัน 2 กิโลเมตร ส่งข้อมูลที่มีความยาว 64 ไบต์ออกมาในจังหวะเวลาที่ทำให้เกิดการชนกันของข้อมูล (Roundtrip Propagation Delay) ซึ่งเมื่อเกิดการชนกันขึ้น MAC Layer จะเป็นตัวที่ตรวจพบและมันจะทำการส่งสัญญาณเพื่อให้เครื่องที่ส่งข้อมูลชนกันหยุดการส่งข้อมูล และทำการสุ่มเวลาเริ่มต้นเพื่อนที่จะทำการส่งข้อมูลนั้นใหม่อีกครั้ง และใน 100 Mbps (IEEE802.3u)ก็ใช้ข้อกำหนดนี้ แต่ความเร็วที่เพิ่มขึ้นได้มาจากการเพิ่มสัญญาณนาฬิกาในการส่งข้อมูลให้เร็วขึ้นเป็น 10 เท่าจากของเดิม ทำให้เวลาที่ต้องใช้ในการส่งข้อมูลลดลง 10 เท่า ซึ่งทำให้ระยะห่างสูงสุดระหว่างเครื่องในเครือข่ายลดลง 10 เท่าเช่นกัน คือ จาก 2 กิโลเมตรเหลือเพียง 200 เมตรแต่เมื่อมีการเพิ่มความเร็วขึ้นอีก 10 เท่าใน Gigabit Ethernet จึงทำให้ระยะห่างดังกล่าวลดลงเหลือเพียง 20 เมตรบนสาย UTP cat5 ซึ่งไม่สามารถใช้งานได้ในสภาพการทำงานจริง ดังนั้น Carrier Extension นี่เองที่จะเข้ามาทำให้สามารถตัวจับการชนกันของข้อมูลเมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอยู่ห่างกันที่ระยะ 200 เมตรขนาดของเฟรมที่เล็กที่สุดของ Gigabit Ethernet ซึ่งมีค่าเท่ากับ 512 ไบต์นั้นจะทำให้สามารถตรวจจับการชนกันของข้อมูลได้ที่ความเร็วในการส่งข้อมูลเท่ากับ 1 Gbps และระยะห่างสูงสุดที ่ 200 เมตร ทั้งนี้ทางคณะทำงานที่กำหนดมาตรฐาน IEEE802.3z ได้ลดจำนวน repeater hop ลงจาก 100Base-T(IEEE802.3u) ที่อนุญาตให้มีได้ 2 hop (และ 4 hop ใน 10Base-T) ลงเหลือเพียง 1 hop เท่านั้น ทั้งนี้เพื่อเหตุผลในเรื่องการลดเวลาในการตรวจสอบการชนกันของข้อมูล นอกจากนี้ค่าพารามิเตอร์อื่นๆทางวิศวกรรม(ค่าทางไฟฟ้า) ใน IEEE802.3z จะไม่มีการเผื่อ Safety Factor อีกต่อไปดังนั้นถ้าผู้ผลิตแต่ละยี่ห้อไม่ได้ใช่ค่าพารามิเตอร์ที่ตรงกันจริงๆ ก็จะทำให้เกิดปัญหาเมื่อนำเอา อุปกรณ์ Gigabit Ethernet ของต่างผู้ผลิตมาต่อเชื่อมกันได้
ประโยชน์ของกิกะบิตอีเธอร์เนต
เมื่อมีความต้องการแบนด์วิธมากขึ้น แน่นอนต้องปรับช่องส่งสัญญานให้กว้างขึ้น เสันใยแก้วนำแสง (Fiber Optics) จึงเข้ามามีส่วนมาก ในการส่งผ่านข้อมูล เพื่อรองรับการส่งผ่านสัญญาณสูง ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาให้ส่งผ่าน สายทองแดงหรือที่เรียกว่า 1000BASE-T1 ประสิทธิภาพในการใช้เครือข่ายเพิ่มมากขึ้น ทำให้การส่งผ่านข้อมูลข้ามจากเซกเมนต์หนึ่ง ไปยังเซกเมนต์หนึ่งด้วยความเร็วสูง เพื่อตอบสนองการใช้งาน2 โอกาสในการขยายตัวของระบบเครือข่าย ทำให้รองรับอนาคตได้อีกยาวไกล3 คุ้มค่าในการลงทุนในระยะยาว
จะเห็นได้ว่าเครื่องพีชี ที่ติดต่ออยู่กับระบบเนตเวอรค์ในปัจจุบัน ล้วนแต่ประสิทธิภาพสูงๆ ไม่ว่าจะเป็น เพนเทียมทู เพนเทียมโปร ซึ่งต้องการการผ่านข้อมูลสูงๆ ทั้งนั้น ฉนั้นโครงสร้างพื้นฐาน ระดับ 1000 Mbps จึงจำเป็นสำหรับเนตเวอร์ที่ต้องการการส่งผ่านข้อมูลสูงๆ แบบนี้
รูปแบบในการติดตั้งกิกะบิต อีเธอร์เนต อย่างง่ายๆ
รูปแบบที่หนึ่ง กิกะบิตอิเธอร์เนต จะถูกสวิสซ์แล้ววิ่งไปตามแบคโบนเครือข่าย ที่มีการเชื่อมต่อ ระหว่างสวิสต์กับสวิสต์ (Switch to Switch) การเชื่อมต่อใช้เส้นใยแก้วนำแสง ระหว่างตึกต่อตึก และใช้สายทองแดงเชื่อมต่อ ในระยะทางที่สั้นกว่า ดังรูป






รูปแบบที่สอง การเชื่อมต่อแบบ สวิสต์กับเครื่องเซิฟเวอร์ (Switch to Server) เป็นการเข้าถึงเชิฟเวอร์ด้วยความเร็วสูง แต่จุดสำคัญจะต้องเป็น เชิฟเวอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงมาก จากนั้นจึงสวิสต์ไปยัง อิเธอร์เนตอื่นด้วยความเร็วที่ 100 Mbps และส่งผ่านระดับ 10 Mbps เข้ายังพีชี









เมื่อพีชีในปัจจุบันมีความเร็วมากขึ้นๆ ความต้องการเชิฟเวอร์ลดลง หันมาใช้แบบเวิร์คกรุ๊ปแทน ในรูปแบบที่สามการใช้ทรัพยากรในระดับ 100 Mbps




เครือข่ายความเร็วสูง เมื่อก่อนเห็นจะเป็น ATM แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายนัก ที่จะจัดการไม่ว่าการข้ามยี่ห้อของอุปกรณ์ การเซ็ตอะไรต่อมิอะไร ในระบบ และแอพพิเคชั่นที่ใช้อยู่ในระบบ มาบัดนี้ กิกะบิต อีเธอร์เนต ดูเหมือนจะมาแรงแซงนำ มากกว่ารูปแบบอื่นๆ เพราะอิเธอร์เนต แทบจะไม่ต้องทำอะไรเลย ไม่ว่าจะเป็น อิเธอร์เนต ฟาสต์อิเธอร์เนต หรือกิกะบิต อิเธอร์ตเนต ซึ่งปัจจุบันฮาร์ดแวร์ก็มีอยู่หลายๆ ค่าย ที่ออกมารองรับความเร็วระดับนี้ ทาง บริษัท ซี-พลัส จำกัด เองได้มีโอกาส ติดตั้งกิกะบิต อิเธอร์เนตแบคโบน ที่ราชภัฎเชียงราย ถือว่าเป็นอีกความภาคภูมิใจหนึ่งของเรา ซึ่งพูดได้ว่าเป็นไซต์แรก ของประเทศก็ว่าได้ที่ กิกะบิตแบคโบน ที่ให้การส่งผ่านข้อมูลสูงถึงความเร็ว 1000 Mbps บทความ กิกะบิต อิเธอร์เนต จาก gigabit-ethernet.org (PDF File)
แหล่งที่มา http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/network/gigabit/index.htmlhttp://www.zplus.co.th/gigabit.htm


วันเสาร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2552

Topology

โทโปโลยี

โทโปโลยีของเครือข่าย (Network Topology) จะอธิบายถึงแผนผังการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ลักษณะทางกายภาพ ( Physical Topology) หรือทางตรรกะ (Logical Topology) ซึ่งจะแสดงถึงตำแหน่งของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครือข่ายอื่นๆ และเส้นทางการเชื่อมต่อของอุปกรณ์เหล่านี้ประเภทของโทโปโลยี

1.โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology)
2.โทโปโลยีแบบดวงดาว (Star Topology)
3.โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)
4.โทโปโลยีแบบเมช (Mesh Topology)

การเชื่อมต่อแบบ BUS

โปรโตคอล Ethernet สามารถเชื่อมต่อได้ทั้งแบบ Bus โดยใช้สาย Coaxial และแบบ Star ใช้สายทองแดงคู่ดีเกลียว (สาย UTP) การเชื่อมต่อแบบ Bus จะเป็นตามมาตรฐานของ 10Base2 เป็นรูปแบบเชื่อมต่อสายโดยใช้สาย Coaxial (โคแอกเชี่ยล) มีเส้นศูนย์กลาง ? นิ้ว เรียกว่า Thin Coaxial ความยาวโดยรวมของสายทั้งหมดจากเครื่องต้นทางถึงเครื่องปลายทางต้องไม่เกิน 180 เมตร บางทีก็เรียกสาย Coaxial ว่าสาย RG-58 (มีความต้านทาน 50 โอห์ม) การเชื่อมต่อแบนี้ไม่ต้องใช้ฮับเป็นตัวกลาง ทำให้มีต้นทุนต่ำแต่ประสิทธิภาพการทำงานจะไม่ดีเท่าที่ควร วิธีการเชื่อมต่อสายระหว่างจุดต่อจะใช้ตัว T-Connector เป็นตัวกลาง และจะมีหัวต่อ BNC สำหรับต่อเข้ากับการ์ดเน็ตเวิร์ก และสิ่งสำคัญจะต้องมีตัว Terminator ปิดที่ปลายสายของทั้งสองด้านจากรูปที่ 2.13 ก. เป็นรูปการเชื่อมต่อสาย Coaxial เข้ากับการ์ดเน็ตเวิร์ก โดยมีตัว T-Connector เป็นตัวกลาง โดยมีความยาวของสายในแต่ละช่วงจะต้องไม่ต่ำกว่า 0.5 เมตร และมีตัว Terminator ปิดที่ปลายสายของทั้งสองด้านอีกด้วยปัจจุบันการเชื่อมต่อแบบ Bus ไม่เป็นที่นิยมใช้งาน เพราะมีความเร็วต่ำเพียง 10 เมกกะบิตต่อวินาทีและข้อจำกัดด้านความยาวของสาย


ข้อดี-ข้อเสีย ของBUS Topology

ข้อดี-ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดตั้งมีโครงสร้างง่ายและระบบก็มีความน่าเชื่อถือเพราะใช้สายส่งข้อมูลเพียงเส้นเดียวง่ายในการเพิ่มจุดบริการใหม่เข้าสู่ระบบ

ข้อเสีย-การตรวจหาข้อผิดพลาดของระบบทำได้ยาก ในกรณีที่สายส่งข้อมูลเกิดเสียหายจะทำให้ระบบทั้งระบบไม่สามารถทำงานได้



การเชื่อมต่อแบบ Star
การเชื่อมต่อแบบ Star จะเป็นตามมาตรฐานของ 10BaseT เป็นรูปแบบการใช้สาย Twisted Pair ในการรับ-ส่งมีความเร็ว 10/100 Mbps ด้วยสัญญาณแบบ Base band จะใช้สาย UTP (Unshield Twisted Pair) ซึ่งจะมีสายเล็กๆ ภายใน 8 เส้นตีเกลียวกัน 4 คู่ ความยาวของสายแต่ละเส้นจากเครื่องถึงฮับจะต้องไม่เกิน 100 เมตร (ทางที่ดีไม่ควรเกิน 80 เมตร เพื่อป้องกันสัญญาณรบกวน) ปัจจุบันนิยมใช้การเชื่อมต่อแบบนี้มากที่สุด




ข้อดี-ข้อเสีย ของ Star Topology

ข้อดี- ง่ายในการให้บริการ- อุปกรณ์ 1 ตัวต่อสายส่ง 1 เส้น ทำให้การเสียหายของอุปกรณ์ในระบบไม่มีผลกระทบต่อการทำงานในจุดอื่นๆ- ตรวจหาข้อผิดพลาดได้ง่าย

ข้อเสีย-ต้องใช้สายส่งข้อมูลจำนวนมากถ้าจุดศูนย์กลางเกิดการเสียหาย จะทำให้ระบบทั้งระบบไม่สามารถจะทำงานได้

โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)
โทโปโลยีแบบวงแหวนนี้จะใช้สายสัญญาณเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นห่วงหรือวงแหวน การเชื่อมต่อแบบนี้สัญญาณจะเดินทางเป็นวงกลมในทิศทางเดียว และจะวิ่งผ่านคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ซึ่งจะทำหน้าที่ทวนสัญญาณไปในตัวแล้วส่งผ่านไปเครื่องถัดไป ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งเครื่องใดหยุดทำงานก็จะทำให้ระบบเครือข่ายล่มเช่นกัน

ข้อดี-ข้อเสีย ของRing Topology

ข้อดี-ใช้สายส่งข้อมูลน้อยจะใกล้เคียงกับแบบ Busประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดตั้งง่ายในการเพิ่มจุดบริการใหม่เข้าสู่ระบบข้อดี-ข้อเสีย ของRing Topology

ข้อเสีย-ถ้าจุดใดจุดหนึ่งเสียหายจะทำให้ระบบทั้งระบบไม่สามารถติดต่อกันได้ยากในการตรวจสอบข้อผิดพลาด

โทโปโลยีแบบเมซ (Mesh Topology)
โทโปโลยีเมซคือ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์แบบสมบูรณ์ กล่าวคือ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครือข่ายจะเชื่อมต่อถึงกันหมดโดยใช้สายสัญญาณทุกการเชื่อต่อ วิธีการนี้จะเป็นการสำรองเส้นทางเดินทางข้อมูลได้เป็นอย่างดี เช่น ถ้าสายสัญญาณเส้นใดเส้นหนึ่งขาด ก็ยังมีเส้นทางอื่นที่สามารถส่งข้อมูลได้ นอกจากนี้ยังเป็นระบบที่มีความเชื่อถือได้สูง แต่ข้อเสียก็คือ เครือข่ายแบบนี้จะใช้สัญญาณมาก ดังนั้น ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบก็เพิ่มขึ้นโทโปโลยีแบบเมซ (Mesh Topology)

ข้อดีข้อเสียของการเชื่อมต่อแบบ (Mesh Topology )

ข้อดี-ของการเชื่อมต่อแบบเมซคือ การมีเส้นทางสำรองข้อมูล จึงได้มีการประยุกต์ใช้การเชื่อมต่อแบบเมซบางส่วน หรือการเชื่อมต่อแบบเมซที่ไม่สมบูรณ์ กล่าวคือ จะเชื่อมต่อเฉพาะสิ่งที่จำเป็นหรือสำคัญเท่านั้น

ข้อเสีย-ก็คือการเชื่อมต่อหลายจุด

คำถาม

1 โครงสร้างข้อมูลแบบใด ถ้ามีจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมากเกินไป จะมีการส่งข้อมูลชนกันมากจนเป็นปัญหา

ก. Bus topology

ข. Star topology

ค. Ring topology

ง. mesh topology

เฉลย ก. Bus topology พราะ โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบัส จะประกอบด้วย สายส่งข้อมูลหลัก ที่ใช้ส่งข้อมูลภายในเครือข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง จะเชื่อมต่อเข้ากับสายข้อมูลผ่านจุดเชื่อมต่อ เมื่อมีการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องพร้อมกัน จะมีสัญญาณข้อมูลส่งไปบนสายเคเบิ้ล และมีการแบ่งเวลาการใช้สายเคเบิ้ลแต่ละเครื่อง ข้อดีของการเชื่อมต่อแบบบัส คือ ใช้สื่อนำข้อมูลน้อย ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่าย และถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียก็จะไม่ส่งผลต่อการทำงานของระบบโดยรวม แต่มีข้อเสียคือ การตรวจจุดที่มีปัญหา กระทำได้ค่อนข้างยาก และถ้ามีจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมากเกินไป จะมีการส่งข้อมูลชนกันมากจนเป็นปัญหา

แหล่งที่มา http://202.143.142.179/task/computer/topology.html

2 โครงสร้างเครือข่ายแบบใด ในการรับส่งข้อมูลจะไม่มีการชนกันชนกันของข้อมูลเกิดขึ้นเลย

ก. Bus topology

ข. Star topology

ค. Ring topology

ง. mesh topology

เฉลย ค. Ring topology เพราะ โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน มีการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์โดยที่แต่ละการเชื่อมต่อจะมีลักษณะเป็นวงกลม การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายนี้ก็จะเป็นวงกลมด้วยเช่นกัน ทิศทางการส่งข้อมูลจะเป็นทิศทางเดียวกันเสมอ จากเครื่องหนึ่งจนถึงปลายทาง ในกรณีที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งขัดข้อง การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายชนิดนี้จะไม่สามารถทำงานต่อไปได้ ข้อดีของโครงสร้าง เครือข่ายแบบวงแหวนคือ ใช้สายเคเบิ้ลน้อย และถ้าตัดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เสียออกจากระบบ ก็จะไม่ส่งผลต่อการทำงานของระบบเครือข่ายนี้ และจะไม่มีการชนกันของข้อมูลที่แต่ละเครื่องส่ง

แหล่งที่มา http://202.143.142.179/task/computer/topology.html

3 โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว Star topology จะมีจุดศูนย์กลางในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เรียกว่า

ก. โฮสต์ (Host)

ข. เซิฟเวอร์ (Server)

ค. ซอฟแวร์

ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.

เฉลย ง. ถูกทั้ง ก. และ ข. เพราะ ระบบเครือข่ายแบบดาว (Star Topology) ประกอบด้วยคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง เรียกว่า โฮสต์ (Host) หรือ เซิฟเวอร์ (Server) ที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นแลอุปกรณ์ที่เหลือ ระบบนี้เหมาะกับการประมวลผลที่ศูนย์กลางและส่วนหนึ่งทำการประมวลผลที่เครื่องผู้ใช้ (Client or Work Station) ระบบนี้มีจุดอ่อนอยู่ที่เครื่อง Host คือ การสื่อสารทั้งหมดจะต้องถูกส่งผ่านเครื่อง Host ระบบจะล้มเหลวทันทีถ้าเครื่อง Host หยุดทำงาน

แหล่งที่มา http://edunet.pn.psu.ac.th/edufms/users/Members/s4615563/jang/page23.htm

4 โครงสร้างเครือข่ายแบบใด เมื่อ ฮับ( hub)หยุดทำงาน ระบบจะล้มเหลวทั้งระบบทันที

ก. Bus topology

ข. Star topology

ค. Ring topology

ง. mesh topology

เฉลย ค. Star topology เพราะ โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว ภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมีจุกศูนย์กลางในการควบคุมการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หรือ ฮับ (hub) การสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ จะสื่อสารผ่านฮับก่อนที่จะส่งข้อมูลไปสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบดาวมีข้อดี คือ ถ้าต้องการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ก็สามารถทำได้ง่ายและไม่กระทบต่อเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในระบบ ส่วนข้อเสีย คือ ค่าใช้จ่ายในการใช้สายเคเบิ้ลจะค่อนข้างสูง และเมื่อฮับไม่ทำงาน การสื่อสารของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบก็จะหยุดตามไปด้วย

แหล่งที่มา http://202.143.142.179/task/computer/topology.html

5 ข้อใดคือ ระบบเครื่องข่ายท้องถิ่น เป็นเน็ตเวิร์กในระยะทางไม่เกิน 10 กิโลเมตร

ก. LAN (Local Area Network)

ข. MAN (Metropolitan Area Network)

ค. WAN (Wide Area Network)

ง. ถูกเฉพาะ ข้อ ค.

เฉลย ก. LAN (Local Area Network) เพราะ LAN (Local Area Network)ระบบเครื่องข่ายท้องถิ่น เป็นเน็ตเวิร์กในระยะทางไม่เกิน 10 กิโลเมตร ไม่ต้องใช้โครงข่ายการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ คือจะเป็นระบบเครือข่ายที่อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรือต่างอาคาร ในระยะใกล้ๆแหล่งที่มา http://www.bcoms.net/network/intro.asp

วันอังคารที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

แบบทดสอบเรื่อง IP address

แบบฝึกหัด
1.IP Address คืออะไร
ก.หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์
ข.หมายเลขของระบบ LAN
ค.หมายเลขของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ง.หมายเลข server

2.หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลขกี่ชุด
ก. 2ชุด
ข. 3ชุด
ค. 4ชุด
ง. 5ชุด

3.IPv4 มีกี่บิต
ก. 16 บิต
ข. 32 บิต
ค. 64 บิต
ง.128 บิต

4.หมายเลข IP Address ของ class c เริ่มจากหมายเลขใด
ก. 191-223
ข. 191-333
ค. 192-223
ง. 192-240

5.หมายเลข IP Address ของ class B เริ่มจากหมายเลขใด
ก.126-192
ข.126-193
ค.127-191
ง.128-191

6.หมายเลข subnet mask ของ class A คือเท่าไร
ก.255.225.0.0
ข.255.255.0.0
ค.255.0.0.0
ง.255.255.255.0

7.หมายเลข subnet mask ของ class B คือเท่าไร
ก. 255.225.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.225.0
ง. 255.255.255.0

8.หมายเลข subnet mask ของ class c คือเท่าไร
ก.255.0.0.0
ข.255.255.0.0
ค.255.255.255.0
ง.255.255.255.255

9.หมายเลข netและ host ของ class A คืออะไร
ก.H.N.N.N
ข.N.N.N.H
ค.N.H.H.H
ง.N.N.H.H

10.หมายเลข netและ host ของ class c คืออะไร
ก.N.N.N.H
ข.N.N.H.H
ค.H.N.N.N
ง.N.H.H.H

เฉลย1.ก 2.ค 3.ข 4.ค 5.ง 6.ค 7.ข 8.ค 9. ค 10.ก

แบบทดสอบเรื่อง การใช้โปรแกรม captivate 3

แบบทดสอบ
1.ข้อใดไม่ใช่จุดเด่นของโปรแกรม
ก.บันทึกและตัดต่อไฟล์เสียงได้
ข.รองรับการแสดงผลจาก browser ได้อย่างสมบูรณ์
ค.ตัดต่องานสื่อวีดีโอได้ทั้งภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว
ง.เชื่อมโยงกับเครือข่ายทุกเครือข่ายได้

2.ความต้องการทรัพยากรโดยรวมของ adobe ข้อใดถูกต้อง
ก.พื้นที่ว่างใน harddisk ไม่น้อยกว่า 700 MB
ข.หน่วยความจำชั่วคราว (RAM) ไม่น้อยกว่า 512 MB
ค.รองรับการแสดงผลที่ 800*600 pixels
ง.ถูกทุกข้อ

3.ประเภทของไฟล์สำหรับสร้างงานและส่งออก adobe สามารถรับไฟล์นำเข้ได้ไฟล์
ก.2ไฟล์
ข.3ไฟล์
ค. 4 ไฟล์
ง. 5ไฟล์

4.ข้อใดไม่ใช่ไฟล์ที่adobe สามารถนำเข้าได้
ก.ไฟล์รูปภาพ
ข.ไฟล์วีดีโอ
ค.ไฟล์เสียง
ง.ไม่มีข้อถูก

5. adobe สามารถส่งไฟล์ออกได้แบบยกเว้นไฟล์ที่มีนามสกุลใดต่อไปนี้ข้อใดต่อไปนี้
ก. .html
ข. .cp
ค. .mth
ง. .exe

6. Exe File (.exe) เป็นไฟล์สำหรับทำอะไร
ก.เป็นไฟล์สำหรับนำไปใช้กับเว็บไซต์
ข.เป็นไฟล์สำหรับการนำเสนอแบบ stand alone
ค.เป็นไฟล์ลักษณะวีดีโอไฟล์ออนไลน์
ง.เป็นรูปแบบไฟล์เอกสารมาตราฐาน

7.Docment (.doc) คือไฟล์อะไร
ก.เป็นรูปแบบไฟล์เอกสารมาตรฐาน microsoft word
ข.เป็นไฟล์ลักษณะวีดีโอไฟล์ออนไลน์
ค.เป็นไฟล์สำหรับนำไปใช้กับเว็บไซต์
ง.ไม่มีข้อถูก

8. html File (.html) เป็นไฟล์สำหรับทำอะไร
ก.เป็นไฟล์สำหรับนำไปใช้กับเว็บไซต์
ข.เป็นไฟล์สำหรับการนำเสนอแบบ stand alone
ค.เป็นไฟล์ลักษณะวีดีโอไฟล์ออนไลน์
ง.เป็นรูปแบบไฟล์เอกสารมาตราฐาน

9. ZIPFile (.zip) เป็นไฟล์สำหรับทำอะไร
ก.เป็นไฟล์สำหรับนำไปใช้กับเว็บไซต์
ข.เป็นไฟล์ที่รองรับมาตรฐานSOCRM
ค.เป็นไฟล์ลักษณะวีดีโอไฟล์ออนไลน์
ง.เป็นรูปแบบไฟล์เอกสารมาตราฐาน

10.ข้อใดคือขั้นตอนแรกของการติดตั้งโปรแกรม Adobe Captivate 3.0
ก. Adobe ทำการแตกไฟล์สำหรับกระบวนการติดตั้ง
ข.ดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล์Adobe_ Captivate 3_WWE3.exe แล้วปรากฏหน้าต่างขึ้นให้แล้วกด next
ค.Install Adobe Captivate 3.0
ง.Adobe จะทำการติดตั้งโปรแกรม

เฉลย1. ง 2.ง 3. ค 4. ง 5. ค 6. ข 7.ก 8. ก9. 10.ข

แบบทดสอบเรื่อง คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการไฟล์

แบบทดสอบ
1.ข้อใดคือคำสั่งสำหรับการลบไฟล์
ก.คำสั่ง mkdir
ข.คำสั่ง mv
ค.คำสั่ง pwd
ง.คำสั่ง rm

2.ข้อใดให้ความหมายของคำสั่งChown ได้ถูกต้อง
ก.เป็น Ownerของระบบ Unix,Linux (เป็นการเปลี่ยนเจ้าของไฟล์)
ข.เป็นGroupของระบบ Unix,Linux (เป็นการเปลี่ยนกลุ่มเจ้าของไฟล์)
ค.เป็นคำสั่งสำหรับการลบไดเร็คทอรี่
ง.แสดง directory ที่เราอยู่ปัจจุบัน

3.ข้อใดคือคำสั่งของการจัดการโปรเซสทั้งหมด
ก.คำสั่งBg คำสั่ง Fgและคำสั่ง mkdir
ข.คำสั่ง Fg คำสั่ง mkdirและ คำสั่ง pwd
ค.คำสั่งPs คำสั่งKil และlคำสั่ง Fg
ง.คำสั่ง Fgคำสั่ง mkdirและ คำสั่ง rm

4.ข้อใดคือความหมายของคำสั่งคำสั่งKill
ก.การดูสถานะของ Process
ข.เป็นคำสั่งสำหรับยกเลิก Process ส่งรหัสควบคุมไปยังโปรเซส
ค.เป็นคำสั่งสำหรับกำหนดควบคุม การรับส่งผ่านข้อมูลของ Firewall
ง.ไม่มีข้อถูก

5.ข้อใดไม่ใช่คำสั่งสำรองข้อมูล
ก.คำสั่ง Fg
ข.คำสั่ง gunzip
ค.คำสั่ง gzip
ง.คำสั่ง tar

6.คำสั่ง ftpเป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับทำอะไร
ก.เป็นคำสั่งที่เปลี่ยน host ที่ใช้อยู่ไปยัง host อื่น
ข.ใช้เปลี่ยน directoryftp> delete และ mdelete ใช้ลบไฟล์
ค.ใช้เพื่อการส่งข้อมูลทางเดียวจากผู้เขียนไปถึงผู้รับบนเครื่องเดียวกันเท่านั้น
ง.เป็นคำสั่งที่ใช้ถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่ง

7.คำสั่งddเป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับทำอะไร
ก.เป็นคำสั่งไว้สร้าง link ไปยังที่ ที่ต้องการ คลายกับ shortcut
ข.แสดงหน่วยความจำที่เหลืออยู่บนระบบ
ค.ลบบรรทัดปัจจุบันทั้งบรรทัด
ง.แสดง/กำหนดชื่อโฮสต์ คำสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่

8.คำสั่งhostname
ก. แสดง/กำหนดชื่อโฮสต์ คำสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่
ข.แสดงหน่วยความจำที่เหลืออยู่บนระบบ
ค.ใช้แสดงรายชื่อผู้ login เข้ามาล่าสุด
ง. ต้องการชื่อเต็ม (full pathname)

9.ข้อใดคือหน้าที่ของคำสั่งfree
ก.ใช้แสดงรายชื่อผู้ login เข้ามาล่าสุด
ข.ต้องการชื่อเต็ม (full pathname)
ค.ลบบรรทัดปัจจุบันทั้งบรรทัด
ง.แสดงหน่วยความจำที่เหลืออยู่บนระบบ

10.คำสั่ง dfเป็นคำสั่งที่มีหน้าที่อย่างไร
ก.เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์
ข.คำสั่งนี้จะแสดงค่าตัวแปลสภาพ แวดล้อม
ค.แสดงหน่วยความจำที่เหลืออยู่บนระบบ
ง.ลบบรรทัดปัจจุบันทั้งบรรทัด

เฉลย1.ง 2.ก 3. ค 4. ข 5. ก 6. ง 7. ค 8. ก 9. ง 10.ก

แบบทดสอบเรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

แบบทดสอบ
1.ระบบเครือข่ายระบบหนึ่งอาจประกอบไปด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่กี่เครื่องขึ้นไป
ก.1 เครื่อง
ข.2 เครือง
ค.3 เครื่อง
ง. 5 เครื่อง

2.ระบบเครือข่ายโดยทั่วไปมี 3 แบบ ดังนี้ยกเนข้อใด
ก. Local Area Network (LAN)
ข. Metropolitan Area Network (MAN)
ค. Wide Area Networks (WANs)
ง. Token-passing (NAN)

3.Local Area Network (LAN) เป็นการเชื่อมแบบใดต่อไปนี้
ก.เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายขนาดเล็ก ในพื้นที่ไม่ใหญ่มากนัก
ข.เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายที่มีขนาดทางภูมิศาสตร์ที่ใหญ่ขึ้นกว่า LAN
ค.เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายที่มีขนาดทางภูมิศาสตร์ที่ใหญ่ขึ้นกว่าแบบ MAN
ง.เป็นการเชื่อมต่อระดับประเทศ

4.ลักษณะการต่อสาย LAN หรือที่เรียกกันว่า topology โดยทั่วไปมี กี่แบบ
ก. 2แบบ
ข.3แบบ
ค.4แบบ
ง.5แบบ

5.การต่อสาย lanแบบ STAR หรือเรียกว่าแบบดาว มีละกษณะการต่อแบบใดต่อไปนี้
ก.การต่อเครื่องคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อต่อที่เรียกว่า HUB
ข.เป็นการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ากับสายสัญาณหลักที่อยู่ตรงกลาง
ค.เป็นการเชื่อมต่อแบบร้อยต่อกันเป็นวงผ่านทุกเครื่องในระบบจนครบ
ง.มีลักษณะเป็นวงกลมเหมือนบอล

6. โครงสร้างของระบบเครือข่ายทั้งหมดมีกี่แบบ
ก. 2แบบ
ข. 3แบบ
ค. 4แบบ
ง. 5แบบ

7.โครงสร้างแบบบัส (Bus Network)มีลักษณะอย่างไร
ก.การเชื่อมต่อจะเป็นแบบอนุกรม โดยใช้สายเคเบิลเส้นเดียว ลากต่อกันไป
ข.เป็น การเชื่อมต่อคล้ายๆดาวกระจายคือจะมีอุปกรณ์เช่น ฮับ หรือสวิทช์ เป็นศูนย์กลาง
ค.เป็นการเชื่อมต่อกันให้มีขนาดใหญ่ขึ้น
ง.เป็นการเชื่อมต่อที่ใช้คลื่นวิทยุในการ

8. โครงสร้างแบบริง (Ring Network) ลักษณะการเชื่อมต่อจะเป็นลักษณะใด
ก.แบบวงกลม
ข.แบบทวนเข็มนาฬิกา
ค.แบบตรง
ง.แบบวงแหวน

9.MAN ( Metropolitan Area Network )เป็นเครือข่ายระดับใด
ก.ระดับจังหวัด
ข.ระดับองค์กร
ค.ระดับเมือง
ง.ระดับประเทศ

10.WAN (Wide Area Network )เป็นเครือข่ายระดับใด
ก.ระดับองค์กร
ข.ระดับจังหวัด
ค.ระดับเมือง
ง.ระดับจังหวัดและระดับประเทศ

เฉลย1.ข 2.ง 3.ค 4.ข 5.ก 6.ค 7.ก 8.ง 9.ค 10. ง

แบบทดสอบเรื่อง Windows Server 2003

แบบทดสอบ
1.ในปีพ.ศ. 2548 ไมโครซอฟท์ได้ประกาศ วินโดวส์เซิฟเวอร์ใดวินโดวส์
ก.วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ ลองฮอร์น
ข.วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003
ค.วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2000
.วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ โลฮอร์น

2.ระบบปฏิบัติการตระกูล Windows Server 2003 มีส่วนช่วยหลายๆอย่างยกเว้นข้อใด
ก.เพิ่มผลการทำงานให้กับทุกส่วนขององค์กร
ข.ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ค.แอพพลิเคชั่นได้รับการพัฒนา, นำไปใช้
ง.เพิ่มงานให้แก่องค์กร และทำงานได้ดีขึ้น รวดเร็วขึ้น

3.วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 ได้ออกเมื่อใด
ก.วันที่ 28 เมษายนพ.ศ.2547
ข.วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2547
ค.วันที่28 มีนาคม พ.ศ. 2457
ง.วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2457

4.ข้อใดไม่ใช่บริการของบริการคลัสเตอร์
.การจัดการฐาน ข้อมูล
ข.การใช้ข้อมูลร่วมกันผ่านอินทราเน็ต
ค.การใช้ไฟล์ร่วมกัน
ง.การทำธุรกิจร่วมกัน

5.การติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows 2003 Serverแบ่งออกเป็นกี่แบบ
ก. 1แบบ
ข. 2แบบ
ค. 3แบบ
ง. 4แบบ

6.การเซ็ตให้บูตเครื่องจาก CD-Rom Drive ก่อน โดยการเข้าไปปรับตั้งค่าใน ในอะไรของเครื่องคอมพิวเตอร์
ก.CPU
ข.RAM
ค.bios
ง.Rom

7.Windows Server 2003 ได้รวมฟังก์ชั่นการทำงานของระบบที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาบริการเว็บที่ชื่อว่าอะไร
ก.LMX
ข.XML
ค.MXL
ง.XLM

8.Active Directory หมายถึงอะไร
ก.การบริหารข้อมูลผู้ใช้บนเครือข่ายที่มีความซับซ้อนที่ดีขึ้น
ข.สร้างนโยบายรวมศูนย์เพื่อบริหารการใช้ซอฟท์แวร์ของทั้งเครือข่ายที่ดีและปลอดภัยขึ้น
ค.ประสิทธิภาพการทำงานของ Server
ง.บริหารการลบและกู้คืนไฟล์ที่ดีขึ้น

9.Terminal Services หมายถึงอะไร
ก.การให้บริการที่ไม่ขาดตอน
ข.การรันโปรแกรมโดยอาศัยทรัพยากรของ เซอร์ฟเวอร์ผ่านหน้าจอของ Client
ค.การบริหารไฟล์จำนวนมากมหาศาลในองค์กรที่ง่ายขึ้น
ง.การกู้ข้อมูลคืน โดยใช้เครื่องมือ

10.วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 (Windows Server 2003)เป็นรุ่นถัดจากรุ่นใด
ก.วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2000
ข.วินโดวส์ xp
ค.วินโดวส์ 95
ง.วินโดวส์ Mobile

วันพุธที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2552

Ubuntu version Linux

Red Hat Linux==>เรดแฮ็ท เกิดขึ้นจากการรวมตัวของกลุ่มโปรแกรมเมอร์ ในแถบนอร์ธ-แคโลไลนาในสหรัฐอเมริกา โดยมีเป้าหมายที่จะสร้างดิสตริบิวชั่นของ Linux ที่มีการติดตั้งและการใช้งานให้ง่ายที่สุดเท่าที่เป็นไปได้แนวคิดพื้นฐานของเรดแฮ็ทคือเรื่องของ แพ็กเกจ (package) ซึ่งเป็นชุดของโปรแกรม ที่สามารถทำการติดตั้งเพิ่มเข้าและถอดออกได้ โดยที่ผู้ใช้ไม่ต้องทำการคอมไพล์โปรแกรมใหม่ หรือไม่ต้องทราบรายละเอียดแต่อย่างใด (โดยปกติแล้วการติดตั้งซอฟต์แวร์ในระบบ UNIX และ Linux จะต้องขยายไฟล์ที่ถูกบีบอัดไว้ออกมาก่อน แล้วคอมไพล์ตัวโปรแกรม Linux ใหม่พร้อมกับโปรแกรมเหล่านั้น จึงจะสามารถติดตั้งซอฟต์แวร์นั้น เพิ่มลงไปในระบบได้)ดังนั้น Red Hat จึงได้พัฒนาโปรแกรม RPM (RPM Package Manager) ขึ้นมาสำหรับติดตั้ง ถอดถอน และบริหารชุดของแพ็กเกจดังกล่าว โดยไม่ต้องเสียเวลา
คอมไพล์ใหม่ (ซึ่ง RPM ในเวอร์ชันแรกๆจะพัฒนาด้วยภาษา Perl แต่ในเวอร์ชันต่อๆมาจะพัฒนาด้วยภาษา C ทำให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น) และนอกจาก RPM แล้วทางบริษัท Red Hat ก็ยังได้พัฒนาโปรแกรมติดตั้งที่เรียกว่า GLINT (Graphical Linux INstallation Tool) ซึ่งมีลักษณะการใช้งานเป็นแบบกราฟิกขึ้น จึงทำให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้นกว่าเดิมมากRed Hat Linux เวอร์ชันแรกได้ออกจำหน่ายเมื่อช่วงฤดูร้อนของปี
ค.ศ. 1994 และด้วยคุณสมบัติเด่นของ RPM จึงส่งผลให้ Red Hat Linux ได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว จนกลายเป็นดิสตริบิวชั่นที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับการใช้งานในเชิงธุรกิจ ขณะที่ RPM ก็ได้รับการยอมรับ และนำไปใช้เป็นเครื่องมือมาตรฐาน ในการบริหารแพ็กเกจบนระบบ UNIX อื่นๆนอกเหนือจาก Linux ด้วยSuse==>SuSEเป็นลีนุกซ์สัญชาติเยอรมัน ได้รับความนิยมเป็นอันดับหนึ่งในเยอรมันและยุโรปการติดตั้ง SuSE นั้น มีโปรแกรมที่จัดการการติดตั้งชื่อ YaST2 ซึ่งทำให้การติดตั้งได้ง่ายมากภาษาในการติดตั้งยังไม่มีภาษาไทยDebian==>Debianนั้นเริ่มเมื่อปี 1993 โดยนายเอียน เมอร์ดอค คำว่า Debian ก็มาจากชื่อของเค้า เอียน ( -ian ) กับชื่อแฟนของเค้า เด็บบาร่า (deb-) เอามารวมกันก็เป็น Debian นี่ถือได้ว่าเป็นลินุกซ์สำหรับแฮคเกอร์โดยแท้จริง Debian มีจุดแข็งอยู่ตรงระบบการลงโปรแกรมที่เรียกได้ว่าดีมากๆ เรียกว่า APT ที่ใช้งานได้ง่ายกว่า RPM ของเรดแฮทมาก และจะสะดวกมากขึ้นอีกถ้าเรามีเน็ตแรงๆ อยู่ด้วย เนื่องจากว่า APT จะทำการอัพเดทโปรแกรมให้เราอัตโนมัติ เช่น ต้องการลง Mozilla แค่สั่ง apt-get mozilla แล้วก็รออย่างเดียว Mozilla ก็จะพร้อมใช้งานทันที แต่ว่าส่วนอื่นๆ ของ Debian ยังไม่เป็นมิตรกับผู้ใช้หน้าใหม่เช่นกัน เลยมีบริษัทหัวใสจำนวนมาก ได้นำ Debian ดั้งเดิมมาดัดแปลงให้เหมาะกับผู้ใช้หน้าใหม่มากขึ้น แล้วนำมาขาย เช่น Xandros และ LindowsMandrakeLinux==>Mandriva Linuxเป็นลีนุกซ์ดิสโทรที่มีบุคลิกที่สุดสำอาง เริ่มพัฒนามาพร้อมๆ กับ Red Hat Linux แต่มีแนวทางเป็นของตนเอง และไม่คิดตามหลังใคร มิหนำซ้ำยังหาญกล้านำเทคโนโลยีใหม่ๆ มารวมไว้ก่อนดิสโทรอื่นเสมอๆ จนทำให้มีหมายเลขเวอร์ชั่นหนีห่างจาก Red Hat ชนิดไม่เห็นฝุ่น ความที่เน้น Cutting-Edge Technology เช่นนี้มากจนเกินไป จนลืมให้ความสำคัญกับการดำเนินกิจการจึงทำให้ขาดทุนและเกือบต้องเลิกกิจการไป หลังจากได้รับการบริจาคเงินช่วยเหลือและต่อมารวมกิจการกับ Connectiva Linux จนเป็น Mandriva Linux แล้ว ลีนุกซ์ดิสโทรนี้ก็ยังคงมีลักษณะที่เน้นการนำเสนอเทคโนโลยีล้ำหน้าคู่แข่งเสมอมาเรียนรู้เพิ่มเติม(http://www.redhat.com/)บริษัท(http://www.suse.com/)(http://www.debian.org/)โครงการ

LAN คือ อะไร

LAN คือ อะไร ?
1. ความหมายของ ระบบ LAN ย่อมาจาก Local Aria Network ซึ่งแปลได้ว่า “ระบบเครือข่ายขนาดเล็ก” ที่ต้องประกอบด้วย Server และ Client โดยจะต้องมีคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป ซึ่งจะทำหน้าที่เป็น ผู้ให้บริการ และ ผู้ใช้บริการ โดยที่ ผู้ให้บริการ ซึ่งเป็น Server นั้น จะเป็นผู้ควบคุมระบบว่าจะให้การทำให้การทำงานเป็นเช่นไร และในส่วนของ Server เองจะต้องเป็น เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีสถานะภาพสูง เช่นทำงานเร็ว สามารถอ้าง หน่วยความจำ ได้มาก มีระดับการประมวลผลที่ดี และจะต้องเป็นเครื่องที่จะต้องมีระยะการทำงานที่ยาวนาน เพราะว่า Server จะถูกเปิดให้ทำงานอยู่ตลอดเวลา จึงเป็นสิ่งสำคัญอีกอย่างหนึ่ง
2. วัตถุประสงค์ของ ระบบ LAN ระบบ LAN ซึ่งเป็น ระบบเครือข่าย แบบหนึ่งที่นิยมใช้กันในวงที่ไม่ใหญ่โตนัก โดยจะมี คอมพิวเตอร์ เครื่องอื่น ๆ ต่อเข้าเพื่อขอใช้บริการ ดังนั้นในระบบ LAN จึงเป็นลักษณะที่ผู้ใช้หลายบุคคลมาใช้ข้อมูลร่วมกันเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งจะมีประโยชน์ต่างๆ ตามหัวข้อต่อไปนี้
แบ่งการ ใช้แฟ้มข้อมูล
ปรับปรุงและจัดการ แฟ้มข้อมูล ได้ง่าย
แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ซึ่งกันและกันได้สะดวกรวดเร็วขึ้น
สามารถใช้ แฟ้มข้อมูล ที่อยู่ห่างไกลได้อย่างรวดเร็วการแบ่งปันการใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องพิมพ์ โมเด็ม CD-ROM ฯลฯ
การแบ่งปันการใช้ โปรแกรมซอฟต์แวร์ประหยัดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานควบคุมและดูแลรักษาข้อมูลได้ง่ายสามารถรวมกลุ่มผู้ใช้ ข้อมูลต่างๆ ได้ง่ายและรวดเร็วเพื่อการติดต่อสื่อสาร ของผู้ใช้เช่น บริการ Email ,Talk ฯลฯ ดังนั้น ระบบ LAN จึงเป็นที่นิยมกันในส่วนของ บริษัท สถานศึกษา และหน่วยงาน ต่างๆ มากมาย ซึ่งจะให้ผลที่คุ้มค่าในระยะยาวนาน
3. การเชื่อมโยง เครือข่ายของ ระบบ LAN มีอยู่หลายวิธีด้วยกัน แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงเพียง โครงข่ายของ ระบบเครือข่าย (Topology) และ โปรโตคอล ที่ใช้ในระบบ LAN และจะกล่าวถึงอุปกรณ์ที่ใช้ใน ระบบ LAN และซอฟต์แวร์ ที่ใช้ในระบบ LAN มีดังต่อไปนี้

3.1 โครงข่ายของ ระบบเครือข่าย(Topology)
3.2 โปรโตคอล ที่ใช้ในระบบ LAN
3.3 อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบ LAN
3.4 ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในระบบ LAN

ระบบเครือข่ายเบื้องต้น

ระบบเครือข่ายหรือที่เราเรียกกันจนติดปากว่า LAN ( Local Area Network )นั้นก็คือ การนำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องมาเชื่อมต่อกัน เพื่อต้องการให้ เครื่องคอมพิวเตอร์เหล่านั้น สามารถที่จะส่ง หรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ แล้วทำไมเราต้องใช้ระบบเครือข่ายละ ลองนึกดูว่าแต่ก่อนเรามีเครื่องคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง การทำงานต่าง ๆ ก็ยังคงอยู่ที่เครื่องเดียว แต่ในองค์กร หรือตามบ้านเองก็ตามแต่ หากมีเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องที่สองเพิ่มขึ้นมา ความต้องการในการ ที่จะต้องมีการนำข้อมูลจากเครื่องหนึ่ง มายังอีกเครื่องหนึ่งคงหนีไม่พ้น เป็นแน่ หาเป็นแรก ๆ ที่ยังไม่มีระบบเครือข่ายเข้ามาเกี่ยวข้อง ก็คงใช้ Diskette ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสองเครื่อง และนั่นแหละคือความยุ่งยาก น่าเบื่อหน่าย และความไม่สะดวกต่าง ๆ ในการทำงาน ลองนึกภาพดูแล้วกันว่าหากว่าต้องการ Copy File ที่มีขนาดใหญ่กว่าความจุของแผ่น Diskette เราก็ไม่สามารถที่จะทำการ Copy ได้ และนั่นแหละ เขาก็เลยต้องหาวิธีการต่าง ๆ มาทำให้เครื่องสองเครื่องหรือมากกว่า สามารถที่จะส่งข้อมูลระหว่างกันได้ โดยการนำเอาสายสัญญาณมาทำการเชื่อม ต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์เหล่านั้นสามารถที่จะส่งสัญญาณหากันได้โดยผ่านระบบสายสัญญาณต่าง ๆ ที่นำมาเชื่อมต่อ และรูปแบบในการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อนี้ก็มีหลายรูปแบบ และบางคนอาจจะสงสัยเกี่ยวกับคำว่า Ethernet คืออะไร เพราะว่าเป็นคำพูดที่ได้ยินบ่อย ๆ อธิบายนิดหนึ่งแล้วกัน คำว่า Ethernet เป็นคำเรียกที่ใช้เรียกระบบเครือข่าย ที่มีการส่งข้อมูลกันที่ความเร็ว 10Mbps ถ้าเป็นคำว่า Fast Ethernet ก็จะหมายถึงเป็นการส่งข้อมูล ของระบบเครือข่ายที่ความเร็ว 100Mbps และถ้าเป็นคำว่า Gigabit Ethernet ก็จะหมายถึงความเร็วในการส่งข้อมูลที่ 1000Mbps หรือ 1Gbps ซึ่งการส่งข้อมูลของระบบเครือข่ายในปัจจุบันนี้ใช้ โปรโตคอลที่เรียกว่า CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access with Collision Detection)ปัจจุบันนี้ระบบเน็ตเวิร์ก หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งขององค์และองค์กร และสถาบันการศึกษาไปแล้ว การใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ทั้งไฟล์ เครื่องพิมพ์ การส่ง E-mail ภายในองค์กรหรือ ระบบอินทราเน็ต การเชื่อมต่อระยะไกลด้วยระบบ Remote Access การประชุมผ่านวีดีโอ (Video Conference) สิ่งเหล่านี่ต้องใช้ระบบเน็ทเวิร์กเป็นพื้นฐานในการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกันทั้งสิ้น ระบบเน็ทเวิร์กจะหมายถึงการนำคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อกัน เพื่อที่จะทำการแชร์ข้อมูล และทรัพยากรร่วมกัน ระบบเน็ทเวิร์กสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ด้วยกันคือLAN (Local Area Network) หรือ แลน คือ ข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ หมายถึง การต่อเชื่อมคอมพิว เตอร์หลายเครื่องเข้าด้วยกันเป็นเครือข่าย แต่ละเครื่องจะอยู่ในบริเวณใกล้ ๆ กัน เช่น ใน อาคารเดียวกัน คอมพิวเตอร์เหล่านี้จะทำงานร่วมกันได้ ใช้ข้อมูลหรือโปรแกรมร่วมกันได้ ผู้ใช้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล หรือใช้อุปกรณ์บางอย่างร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ นับเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายได้เป็นอย่างดี ชื่อของโปรแกรมระบบแลนที่โด่งดังก็มี Novell, Windows NT ดู WAN เปรียบเทียบ MAN ( Metropolitan Area Network )ระบบเครือข่ายระดับเมือง เป็นเน็ทเวิร์กที่ต้องใช้โครงข่ายของการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย เป็นการติดต่อสื่อสาร กันในเมืองหรือในระดับ LAN to LANWAN (Wide Area Network )เป็นเครือข่ายสำหรับเชื่อมต่อเครือข่ายย่อยๆ หรือเครือข่ายคนละชนิดที่อยู่ห่างไกลกันมากๆ เช่น คนละจังหวัด หรือคนละประเทศเข้าด้วยกัน ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดที่สุดคือเครือข่ายที่เรียกว่า "อินเตอร์เน็ท" นั้นเอง จะต้องใช้มีเดีย( Media ) ในการสื่อสารขององร์การโทรศัพท์ หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย (คู่สายโทรศัพท์ dial-up line/ คู่สายเช่า leased line/ISDN* )มี 2 ระบบ คือ
1. Peer to Peer ระบบเครือข่ายแบบ Peer to Peer เป็นระบบเครือข่ายขนาดเล็ก เหมาะสำหรับหน่วยงาน ที่มีคอมพิวเตอร์น้อยกว่า 10 เครื่อง ระบบ Peer to Peer นี้ คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง สามารถเข้าไปใช้ไฟล์ที่เก็บบนเครื่องไหนก็ได้ ซอรฟ์แวร์ที่ใช้คือ Windows for Workgroups, Windows 95,98,2000 การติดตั้งเพียงแต่เพิ่มอุปกรณ์ที่เรียกว่า Lan Card ในแต่ละเครื่องคอมพิวเตอร์ และมีต่อสายแลน เข้าไปสู่ อุปกรณ์ที่เป็นตัวกลาง ซึ่งเรียกว่า HUB
2.Client / Server ระบบเครือข่ายแบบ Client / Server มีคอมพิวเตอร์หลักเรียกว่า File Server (ทำหน้าที่เป็นศูนย์รวมในการเก็บข้อมูล ทำให้สะดวกในการบริหารข้อมูล) File Server นี้จะต้องเปิดทิ้งไว้ ห้ามปิดในระหว่างการใช้งาน ส่วนคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้งานทั่ว ๆ ไปเราเรียกว่า Work Station สำหรับอุปกรณ์ที่จำเป็นในการติดต่อระบบเครือข่าย คือ สายเคเบิล และการ์ดเครือข่าย (LAN Card) ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมการไหล ของข้อมูล นอกจากนี้ยังต้องมี HUB ซึ่งเป็นอุปกรณ์ในการกระจายสัญญาณไปตาม Work Station ต่าง ๆซอร์ฟแวร์ที่เป็นที่นิยมในระบบเครือข่าย คือ Netware, Windows NT/2000/2003, Unix เป็นต้น โครงสร้างของระบบเครือข่ายภาษาเทคนิคเรียกว่า(Topology) เป็นลักษณะการเชื่อมต่อทางกายภาพระหว่างเครืองคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย ซึ่งแบ่งออกตามหลักวิชาการตั้งแต่สมัยก่อนนั้น แบ่งได้เป็น 4 แบบ คือ- โครงสร้างแบบบัส (Bus Topology) - โครงสร้างแบบสตาร์ (Star Topology) - โครงสร้างแบบวงแหวน (Ring Topology) - โครงสร้างแบบผสม (Hybrid Topology) มีเพิ่มเติมมาคือ โครงสร้างเครือข่ายแบบไร้สาย(Wireless Network)
1. โครงสร้างแบบบัส (Bus Network) ลักษณะการเชื่อมต่อแบบนี้จะเป็นแบบอนุกรม โดยใช้สายเคเบิลเส้นเดียว ลากต่อกันไป ทำให้โครงสร้างแบบนี้มีจุดอ่อนก็คือเมื่อคอมพิวเตอร์ตัวใดตัวหนึ่งมีปัญหากับสายเคเบิล ก็จะทำให้เครื่องรวนไปทั้งระบบ ข้อดีของโครงสร้างแบบนี้ก็คือไม่ต้องมีอุปกรณ์อย่างเช่น ฮับ/สวิทช์ ใช้สายเพียงเส้นเดียวก็เพียงพอแล้ว โครงสร้างแบบนี้จึงเหมาะกับเครือข่ายที่มีขนาดเล็กที่มีจำนวนเครื่องไม่มาก และในปัจจุบันไม่นิยมใช้กันแล้ว เนื่องจากไม่ได้มีการพัฒนาอะไรเพิ่มเติมเลย ความเร็วก็เพียง 10 Mbps
2. โครงสร้างแบบสตาร์ (Star Network) ลักษณะการเชื่อมต่อของโครงสร้างแบบสตาร์นี้ ดูไปแล้วจะคล้ายๆ ดาวกระจาย คือจะมีอุปกรณ์เช่น ฮับ หรือสวิทช์ เป็นศูนย์กลาง ซึ่งการเชื่อมต่อแบบี้มีประโยชน์คือ ถ้ามีสายเส้นใดเส้นหนึ่งหลุดหรือเสียก็จะไม่มีผลกระทบต่อการทำงานของระบบ นอกจากนี้ถ้าหากเราเพิ่มเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าไปอีกในเครือข่ายก็สามารถทำได้ทันที การต่อแบบนี้เป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน เนื่องจากอุปกรณ์ที่ใช้เป็นศูนย์กลางคือ ฮับ/สวิทช์ ราคาได้ถูกลงอย่างมากแล้วในขณะที่ประสิทธิภาพก็ได้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ จนในปัจจุบันเป็นความเร็วขนาดกิกาบิตแล้ว
3. โครงสร้างแบบริง (Ring Network)ลักษณะการเชื่อมต่อจะเป็นลักษณะวงแหวน การส่งข้อมูลจะเป็นแบบทิศทางเดียว ซึ่งถ้าส่งไปแล้วไม่ตรงกับคอมพิวเตอร์เครื่องรับตามที่เครื่องต้นทางระบุมา ก็จะส่งไปยังเครื่องถัดไป จนกว่าจะถึงปลายทางคือตรงกับเครื่องใครก็จะรับ ไม่ส่งต่อ จุดอ่อนของระบบก็คล้ายๆแบบบัส ปัจจุบันผมยังเห็นใช้อยู่ในธนาคาร พวก Mainfram IBM AS/400 เป็นต้น
4. โครงสร้างแบบผสม (Hybird Network)ลักษณะสุดท้ายของของโครงสร้างแบบนี้ก็คือการนำเครือข่ายๆ ย่อยๆ ที่มีโครงข่ายตามแบบที่ผมกล่าวข้างต้นทั้ง สามแบบมารวมกัน หรือ เชื่อมต่อกันให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ลักษณะแบบนี้ยังมีชื่อเรียกเฉพาะอีกด้วย เช่น โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree หรือ Hierachical หรือ Mesh) ก็คือเครือข่ายผสมที่เกิดจากการนำเอาเครือข่ายที่มีโครงสร้างแบบบัสและแบบสตาร์มาผสมกัน หรือโครงสร้างแบบไร้รูปแบบ (Mesh) ซึ้งก็คือโครงสร้างแบบสตาร์ผสมกับบัสที่เชื่อมต่อกันแบบไม่มีโครงสร้างแน่นอน5. โครงสร้างเครือข่ายแบบไร้สาย(Wireless Network)ที่กล่าวมาทั้งหมดเกี่ยวกับโครงข่ายข้างต้นนั้น เป็นโครงสร้างที่ใช้กันสำหรับเครือข่ายแบบใช้สายแต่เนื่องจากปัจจุบันนี้มีเทคโนโลยีเครือข่ายแบบใหม่เกิดขึ้นมา ที่เรียกว่าเครือข่ายแบบไร้สาย(Wireless) จะใช้คลื่นวิทยุในการรับส่งข้อมูล จึงทำให้แตกต่างกันออกไป และโครงสร้างแบบนี้ได้แบ่งเป็น 2 แบบ คือ Peer-to-Peer และ Client Server นอกจากนี้ยังมีเครือข่ายของโทรศัพท์มือถือหรือ Cellular Network ซึ่งจัดอยู่ในรูปแบบโครงสร้างแบบไร้สายด้วย ลักษณะจะคล้ายๆเป็นรูปรังผึ้งFDDI (Fiber Distributed Data Interface)FDDI (Fiber Distributed Data Interface) เป็นเทคโนโลยีเครือข่ายที่ได้รับความนิยมไปใช้งานสูงเพิ่มขึ้นในปัจจุบัน โดยนำไปใช้ในลักาณะการเชื่อมต่อเป็น Backbone ( ใช้เป็นสายสัญญาณหลักเชื่อมระหว่างเครือข่าย LAN) เทคโนโลยีนี้สามารถให้ความเร็วในการรับ/ส่งข้อมูลสุงถึง 1000 Mbps จึงมักใช้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่เข้ากับคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วสูงมาตรฐาน FDDI กำหนดขึ้นจากหน่วยงานมาตรฐานสหรัฐฯ (ANSI : American National Standards Institute) และหน่วยงานมาตรฐานสากล (ISO : International Standard Organization) กำหนดให้ชั้น Physical (จากโมเดลมาตรฐษน ISO 7 Layer) เป็นสายใยแก้วนำแสง โดยเชื่อมต่อเป็นวงแหวนซ้อนกันสองวง (มาตรฐานของ ANSI และ ISO นั้นมีความเข้ากันได้อย่างสมบูรณ์แบบ) FDDI จะเป็น Token-Passing ตามมาตรฐาน 802.5 การกำหนดวงแหวนเป็นสองวงนั้นก่อให้เกิดการทำงานที่คงทนต่อความผิดพลาด เครื่องแต่ละเครื่องในเครือข่าย FDDI จะเชื่อมต่อเข้ากับวงแหวนทั้งสองที่เรียกว่า Primary Ring และ Secondary Ring หรือกล่าวง่ายๆ ก็คือเส้นหลักกับเส้นรองนั่นเอง หากเกิดปัญหาที่เส้นใดเส้นหนึ่งเพียงจุดเดียวก็จะมีการแยกส่วนที่มีปัญหาออกไป แต่ถ้ามีปัญหาเกิดขึ้นหลายๆ จุดพร้อมกัน ก็จะเกิดการแยกตัวเป็น" Ringlets" ขนาดย่อมขึ้น ซึ่งแต่ละส่วนที่แยกจากกันจะไม่สามารถสื่อสารกันได้ ข้อกำหนดของ FDDI ยังกำหนดโปรโตคอลที่ใช้ควบคุมการทำ Media Access (ควบคุมการรับ/ส่งข้อมูลในชั้น Data-Link นั่นเอง) โดยกำหนดให้ทุกๆ เครื่องในเครือข่ายจะมีแอดเดรสขนาด 6 ไบต์เทคโนโลยีของระบบเครือข่ายเป็นรูปแบบการสื่อสาร(Ethernet) ในระบบเน็ทเวิร์กหรือที่เราเรียกว่า โปรโตคอล(Protocal) ในระบบแลน ซึ้งในเนื้อหานี่ผมจะกล่าวถึงความหมายของมาตราฐาน IEEE และความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Ethernet และ Protocal รวมทั้งความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอุปกรณ์เครือข่ายเบื้องต้นโปรโคตอลมาตรฐานสำหรับเครือข่ายIEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) และ EIA ( Electronics-Industries association) เป็นหน่วยงานสากลที่มีหน้าที่ในการกำหนดมาตรฐานของการออกแบบผลิตภัตณ์อิเล็กทรอนิกส์กำหนดรูปแบบการสงสัญญาณ ฯ จะมีโปรโตคอลอยู่ 3 แบบ ด้วยกันคือARCnet Ethernet Token Ring ARCnetเป็นโปรโตคอลที่ออกแบบโดยบริษัท Data Point ประมาณปี 1977 ( Attached ARCnet Resource Computing Network) ใช้หลัการออกแบบ "Transmission Permission" ในการส่งข้อมูล จำมีการกำหนดตำแน่งแอดเดรสของเครื่องเวิร์กสเตชั่นลงไปด้วย สามารถจะเชื่อมต่อได้ทั้งแบบ Bus และ Star มีความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลเพียง 2.5 Mbps (2.5 เมกกะบิตต่อวินาที) ทำให้ไม่เป็นที่นิยมมากนักEthernet เป็นโปรโตคอลที่ออกแบบโดยปริษัท Xerox ประมาณปี 1970 ใช้หลักการทำงานแบบ CSMA/CD ( Carrier Sense Multiple Access With Collision Detection) ในการส่งแมสเซจไปบนสายสัญญาณของระบบเครือข่าย ถ้าหากมีการส่งออกมาพร้อมกันย่อมจะเกิดการชนกันของข้อมูล (Collision) ของสัญญาณทำให้การส่งผ่านข้อมูลต้องหยุดลงทันที CSMA/CS จะใช้หลักการวิธีของ Listen vefore-Transmiting คือ ก่อนจะส่งสัญญาณออกไปจะต้องตรวจสอบว่าในขณะนั้นมีการ รับ - ส่ง ข้องข้อมูลในเน็ทเวิร์กนั้นหรือไม่ ถ้ามีการชนกันของข้อมูล ต้องรอจนกว่าสายเคเบิ้ลนั้นจะว่างแล้วจึงทำการส่งข้อมูลนั้นออกไปบนสายเคเบิ้ลโพรโตคอล IP เหมาะกับเครือข่ายใดบ้างTCP/IP หลายเทคโนโลยีที่เราท่านใช้อยู่ทั่วไปมีจุดกำเนิดจากเทคโนโลยีการสงคราม IP เน็ตเวิร์กก็เป็นหนึ่งในนั้น เมื่อครั้งสงครามเย็นระหว่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต กระทรวงกลาโหมภายใต้รัฐบาลกลางสหรัฐฯ จ้างมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทำวิจัยเพื่อสร้างเครือข่ายที่ทนต่อความล้มเหลว (ด้วยระเบิดนิวเคลียร์) สิ่งที่ได้คือโพรโตคอล TCP/IP เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใช้โพรโตคอลนี้เรียกสั้น ๆ ว่า TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) คือชุดของโพรโตคอลที่รวมกันเป็นกลุ่มให้ใช้งานเช่น Internet Protocol (IP) , Address Resolution Protocol (ARP), Internet Control Message Protocol (ICMP), User Datagram Protocol (UDP) ฯลฯ แต่โพรโตคอลที่มีบทบาทสำคัญคือ Internet Protocal (IP) โดยมีหลักการทำงานคือ แบ่งเนื้อข้อมูลที่ต้องการส่งเป็นชิ้นเล็ก ๆ เรียกว่าแพ็กเก็ตส่งแพ็กเก็ตไปยังเส้นทางที่เหมาะสมเป็นทอดจนกว่าจะถึงปลายทาง แต่ละแพ็กเก็ตอาจใช้เส้นทางคนละทิศขึ้นกับการพิจารณาของเราเตอร์ในช่วงต่าง ๆ หากเกิดข้อผิดพลาด ณ ช่วงการส่งใด เราเตอร์ที่รับผิดชอบการส่งช่วงนั้นจะจัดส่งแพ็กเก็ตชิ้นนั้นใหม่โดยอัตโนมัติ เมื่อถึงจุดหมายระบบปลายทางจะรวบรวมแพ็กเก็ตกลับให้เป็นเนื้อข้อมูลดังเดิม ซึ่งถ้าจะว่ากันตามทฤษฏีแล้ว TCP/IP นั้นจะประกอบด้วยส่วนสำคัญอยู่ 2 ส่วนด้วยกันก็คือ TCP หรือ Transmission Control Protocol และอีกส่วนก็คือ IP หรือ Internet Protocol นั่นเอง การแบ่งลักษณะในการทำงานก็จะแบ่งเป็น TCP มีหน้าที่ในการตรวจสอบการรับส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ผู้รับ และเครื่องคอมพิวเตอร์ผู้ส่ง ให้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง--------------------------------------------Peer to Peerระบบเครือข่ายแบบ Peer to Peer เป็นระบบเครือข่ายขนาดเล็ก เหมาะสำหรับหน่วยงาน ที่มีคอมพิวเตอร์น้อยกว่า 10 เครื่อง ระบบ Peer to Peer นี้ คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง สามารถเข้าไปใช้ไฟล์ที่เก็บบนเครื่องไหนก็ได้ ซอรฟ์แวร์ที่ใช้คือ Windows for Workgroups, Windows 95,98,2000 การติดตั้งเพียงแต่เพิ่มอุปกรณ์ที่เรียกว่า Lan Card ในแต่ละเครื่องคอมพิวเตอร์ และมีต่อสายแลน เข้าไปสู่ อุปกรณ์ที่เป็นตัวกลาง ซึ่งเรียกว่า HUBข้อดีของการต่อแบบ Peer to Peer # ประหยัดค่าใช้จ่ายเมื่อเทียบกับการต่อ Network แบบอื่น ๆ# สามารถแชร์ข้อมูล เครื่องพิมพ์ ของแต่ละเครื่องได้# ง่ายในการติดตั้ง และสามารถขยายต่อไปในอนาคตได้ดClient / Server ระบบเครือข่ายแบบ Client / Server มีคอมพิวเตอร์หลักเรียกว่า File Server (ทำหน้าที่เป็นศูนย์รวมในการเก็บข้อมูล ทำให้สะดวกในการบริหารข้อมูล) File Server นี้จะต้องเปิดทิ้งไว้ ห้ามปิดในระหว่างการใช้งาน ส่วนคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้งานทั่ว ๆ ไปเราเรียกว่า Work Station สำหรับอุปกรณ์ที่จำเป็นในการติดต่อระบบเครือข่าย คือ สายเคเบิล และการ์ดเครือข่าย (LAN Card) ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมการไหล ของข้อมูล นอกจากนี้ยังต้องมี HUB ซึ่งเป็นอุปกรณ์ในการกระจายสัญญาณไปตาม Work Station ต่าง ๆซอร์ฟแวร์ที่เป็นที่นิยมในระบบเครือข่าย คือ Netware, Windows NT, Unix เป็นต้นข้อดีของการต่อแบบ Client / Server * สามารถแชร์ข้อมูล เครื่องพิมพ์ ของแต่ละเครื่องได้* มีระบบ Security ที่ดีมาก* รับส่งข่าวสารในลักษณะของ Email ได้ดี* สามารถจัดสรร แบ่งปันการใช้ทรัพยากรได้จากจุดศูนย์กลางP2P Power P2P หรือเต็มๆ Peer to Peer อาจจะมีคำอื่นอีกเช่น People to People ,Point to Point ซึ่งมีความหายคล้ายคลึงกันPeer to Peer คือ ...- ระบบที่อนุญาติให้ผู้ใช้สามารถแลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่างกันหรือใช้ทรัพยากรร่วมกันผ่านระบบเครือข่าย- ระบบการสื่อสารจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งโดยตรง- ฯลฯแต่เดิมนั้นเมื่อเราต้องการดาวน์โหลดไฟล์จากแม่ข่ายโดยใช้ FTP*,HTTP** นั้นหากมีคนที่ต้องการไฟล์เดียวกับเรา 500 คนมาดาวน์โหลดบนแม่ข่ายเดียวกันพร้อมๆ กันโดยแต่ละคนมี Bandwidth คนละ 256kbpsถ้าจะให้ทุกคนนั้นได้ความเร็วในการดาวน์โหลดสูงสุดตัวแม่ข่ายจะต้องมี Bandwidth เท่ากับ 256kbps * 500 (125mbit) เลยทีเดียวซึ่งไม่ใช่เพียงแต่จะเปลือง Bandwidth เท่านั้น แต่ยังจะต้องใช้แม่ข่ายที่มีความเร็วในการประมวลผลสูงเพื่อรองรับความต้องการที่เพิ่มขึ้นอีกด้วยจากปัญหาดังกล่าวนี้เองทำให้โปรแกรมแชร์ไฟล์ P2P ถูกพัฒนาขึ้นมารองรับความต้องการที่เพิ่มขึ้นโดยใช้ทรัพยากรของแม่ข่ายให้น้อยลงนั้นเองระบบ P2P นั้นถูกพัฒนาเพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่างกันโดยที่ไม่พึ่งแม่ข่ายในการแจกจ่ายไฟล์และทำให้สามารถหาไฟล์ที่ต้องการได้ง่ายขึ้น*FTP = File Transfer Protocal**HTTP = Hypertext Transfer Protocalจากความหมายนี้เองทำให้เราเรียกโปรแกรมที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่างกันโดยไม่ได้ร้องขอไฟล์จากแม่ข่ายว่า "P2P File Sharing"โปรแกรมประเภทนี้มีอยู่มากมายหลายตัวด้วยกัน เช่น Emule, Kazaa, Edonkey ฯลฯ หลักการทำงานคร่าวๆของโปรแกรมก็คือ1.เชื่อมต่อไปยังแม่ข่ายเพื่อยืนยันตัวตนและส่งสารบัญไฟล์ที่เราแชร์ไว้ไปด้วย2.หากเราต้องการหาไฟล์สักไฟล์หนึ่งเมื่อเราระบุ Keyword** โปรแกรมจะส่งคำร้องไปยังแม่ข่ายจากนั้นแม่ข่ายจะส่งรายชื่อไฟล์พร้อมข้อมูลตัวตนของคนที่มีไฟล์ที่ตรงกับ Keyword ที่เราระบุกลับมา3. เมื่อเราพบไฟล์ที่ต้องการแล้วตัวโปรแกรมจะใช้ข้อมูลที่ได้จากแม่ข่ายติดต่อไปยังคนนั้นๆโดยตรงเพื่อร้องขอไฟล์จากการทำงานจะเห็นได้ว่าตัวแม่ข่ายนั้นไม่ได้เป็นคนเก็บไฟล์จริงๆไว้เพียงแต่เก็บเป็นสารบัญไว้เท่านั้นเครื่องบริการ (Server)Web serverคือ บริการ HTTP(HyperText Transfer Protocol) เพื่อให้ผู้ใช้สามารถอ่านข้อมูล ทั้งภาพ และเสียง จากเครื่องบริการ ผ่าน Browser เช่นบริการ http://www.thaiall.com/ หรือ http://localhost/ เป็นต้น เครื่องบริการ ที่รอรับคำร้องขอจาก web browser ข้อมูลที่จะส่งไปอาจเป็นเว็บเพจ ภาพ หรือเสียง เป็นต้น สำหรับโปรแกรมที่ได้รับความนิยม ให้นำมาเปิดบริการ web คือ Apache web server หรือ Microsoft web serverDNS server คืออะไร Domain Name System server เป็นเครื่องบริการแปลงชื่อเว็บเป็นหมายเลข IP ซึ่งการแปลงชื่อนี้อาจเกิดในเครื่อง local เอง จาก cache ในเครื่อง local หรือจากเครื่องบริการของผู้ให้บริการ FTP serverFTP(File Transfer Protocol)คือ เครื่องบริการการรับ-ส่งข้อมูล ซึ่งเปิดให้ผู้ใช้ที่เป็นสมาชิกเข้าใช้ แต่บางเครื่องอาจเป็นให้ผู้ใช้ทั่วไปเข้าใช้ โดยใช้รหัสสมาชิก anonymous ซึ่งเป็นที่รู้กันทั่วโลกว่าเป็นรหัสผู้ใช้สำหรับผู้ที่ไม่ประสงค์ออกนาม FTP คือโปรโตคอลสำหรับถ่ายโอนข้อมูล โดยเครื่องที่เปิดบริการ FTP จะเปิด TCP port 21 ไว้ การเชื่อมต่อของ FTP มี 2 mode
1. FTP standard mode คือ การเชื่อมต่อที่ server เชื่อมต่อกับ client ผ่าน port 20 เป็น Out going port ส่วน port ฝั่ง client จะแล้วแต่ตกลงกัน แต่ถ้า client มี firewall ที่ไม่บริการ ftp ก็จะติดต่อไม่ได้
2. FTP passive mode คือ การเชื่อมต่อที่ client เป็นผู้เชื่อมต่อไปยัง server เพื่อใช้หมายเลข port ที่แล้วแต่จะตกลงในการส่งข้อมูล Mail serverคือ เครื่องบริการรับ-ส่งจดหมายสำหรับสมาชิก บริการที่มีให้ใช้เช่น ส่งจดหมาย รับจดหมาย ส่ง attach file หรือการมี address book เป็นต้น ตัวอย่าง mail server ที่เป็นที่รู้จักทั่วไป เช่น hotmail.com หรือ thaimail.com เป็นต้น SMTP server คืออะไร Simple mail transfer protocol server คือเครื่องบริการส่ง e-mail ไปยังเครื่องบริการอื่น ๆ สำหรับ SMTP ส่วนใหญ่จะไม่ยอมให้คนนอกองค์กร หรือ IP ที่อยู่นอกองค์กรใช้งาน SMTP เพราะอาจมีคนในโลกใบนี้มาแอบใช้ ทำให้บริการ SMTP ทำงานหนักให้กับคนภายนอกโดยไม่เกิดประโยชน์ใด ๆ หากเครื่องของท่านบริการ SMTP แก่คนนอก แสดงว่าไม่ได้กำหนด RELAY ไว้ เพราะชาวโลกอาจใช้เครื่องมือค้นหา "OPEN RELAY" แล้วพบว่าเครื่องของท่านเป็นเครื่องหนึ่งที่ไม่ได้ทำ RELAY ไว้ก็ได้ และที่อันตรายคือ อาจมีชาวโลกบางคนใช้โปรแกรม MOBI+ กำหนดให้เครื่อง SMTP ของท่าน bomb mail ไปยัง mail box ของเป้าหมาย และหมายเลขเครื่องที่โจมตี ก็คือ เครื่อง SMTP ของท่านนั่นเอง POP server คืออะไร Post office protocol server คือบริการรับ-ส่งเมลจาก mail server กับเครื่องของสมาชิก บริการนี้ ทำให้สามารถอ่าน mail ด้วยมือถือ หรือ PDA แต่ถ้าท่านใช้ mail ของ thaimail.com จะเป็น web-based mail ที่เปิดอ่าน e-mail ได้จาก web เท่านั้น จะเปิดด้วย outlook หรือ pda ไม่ได้Database serverคือ เครื่องบริการข้อมูล ที่เปิดให้ผู้ใช้เพิ่มข้อมูล ลบ หรือแก้ไข สำหรับโปรแกรมบริการระบบฐานข้อมูลที่นิยมใช้ ได้แก่ MYSQL หรือ Microsoft Access เป็นต้น โดยผู้ใช้ต้องเขียนโปรแกรมสั่งประมวลผล ปรับปรุงข้อมูล หรือนำข้อมูลในส่วนที่ตนเองมีสิทธิ์ ไปใช้ตามต้องการ Proxy หรือ NAT serverพร็อกซี่ เซิร์ฟเวอร์(Proxy server)คือ เครื่องที่อยู่ตรงกลางระหว่างเครื่องลูกกับอินเทอร์เน็ต เพราะเครื่องลูกในเครือข่ายทั้งหมดจะไม่ติดต่อกับอินเทอร์เน็ตโดยตรง เมื่อเครื่องลูกเรียกดูข้อมูล จะส่งคำขอให้เครื่อง Proxy server และค้นหาข้อมูลนั้นใน เครื่อง Proxy server ว่ามีหรือไม่ หากมีก็จะส่งกลับไปให้เครื่องลูก โดยไม่ออกไปหาจากแหล่งข้อมูลจริง เพราะข้อมูลนั้นถูกเก็บในหน่วยความจำของเครื่อง Proxy server แล้ว จึงเป็นการลดภาระของระบบเครือข่าย ที่จะออกไปนอกเครือข่ายโดยไม่จำเป็น จะเห็นว่า Proxy server ทำหน้าที่เป็น Cache server ทำหน้าที่เก็บข้อมูลที่ผู้ใช้เคยร้องขอ หากมีการร้องขอข้อมูลที่ไม่มีใน proxy ก็จะออกไปหาในอินเทอร์เน็ต แล้วนำกลับมาเก็บใน cache เมื่อผู้ใช้ท่านอื่นต้องการ ก็จะนำจาก cache ไปใช้ได้ทันที สำหรับ Proxy server ที่นิยมใช้ใน Linux เช่น Squid มักให้บริการที่ port 3128 เป็นต้น Proxy server คือ เครื่องบริการที่ทำหน้าที่แปลง address ของเครื่องต้นทางเมื่อมี package ส่งไปยัง local host หรือแปลง address ปลายทาง เมื่อมี package ส่งไปยัง localhost โดยลักษณะที่ชัดเจนของ proxy server คือการทำ caching ทำให้ local host เข้าถึงข้อมูล ซ้ำ ๆ กันได้โดยตรงจากเครื่องบริการ ใน local network ไม่ต้องออกไปนอกเครือข่ายโดยไม่จำเป็น NAT (Network Address Translation)คือ คุณสมบัติหนึ่งของการแจก IP หรือการทำ IP Sharing เพราะในเครือข่ายขนาดใหญ่จะใช้ Local IP หรือ Fake IP แต่จะมี Real IP อยู่บางส่วน โปรแกรมเครื่องบริการบางโปรแกรมมีหน้าที่กำหนด Local IP ให้เครื่องลูก เมื่อเครื่องลูกต้องการออกไปอ่านข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต ก็จะใช้ Real IP ออกไป จากลักษณะดังกล่าง อาจทำให้เครื่องที่เป็น NAT server ทำหน้าที่เป็น Firewall ปกป้องเครื่องลูก เพราะจะไม่มีใครทราบ Local IP ของเครื่องในองค์กรได้ เนื่องจากการออกไปสู่อินเทอร์เน็ตจะใช้ IP ของ NAT server เสมอ จึงไม่มีใครเจาะเข้าสู่เครื่องลูกได้โดยตรง การเป็น NAT server อาจไม่จำเป็นต้องใช้คุณสมบัติ Cache server ก็ได้ เพราะเครื่องที่เป็น Proxy server ที่มีศักยภาพต่ำ จะล่มได้เร็วกว่าเครื่องที่ทำหน้าที่เป็น NAT เพียงอย่างเดียว สำหรับโปรแกรมที่ทำหน้าที่เป็น NAT server เช่น WinGate, WinRoute, WinProxy หรือ ICS(Internet Connection Sharing) เป็นต้น